My nineteenth poll is inspired by my most favorite film of April 2008 – FINAL SOLUTION (2003, Rakesh Sharma). This film is about the genocide in Gujarat, India. I had rarely heard the name Gujarat before I saw this film. This documentary is very sad. One of the saddest stories told in this film is about a politician who tried to save many genocidal victims, but he couldn’t save them and he also was brutally killed.
Seeing the hate mandate in FINAL SOLUTION somehow makes me very afraid of what will happen in Thailand. Some recent news in Thailand makes me very afraid of some narrow-minded Thai people who can’t accept other people who are ‘different’. These Thai people even tried to spread the hatred and urged other people to cause violence.
This is the news which makes me very afraid of living in Thailand:
CHOTISAK NO SHOW AT FORUM DUE TO THREATS FROM MANAGER RADIO
You can read the news here:
http://www.prachatai.com/english/news.php?id=623
This is a quote from the news:
“The organizers, including the Santi Pracha Dharma Institute and Fah Diew Kan (Same Sky) magazine, started the forum with an audio clip recorded from a radio programme ‘Metro Life’ which belongs to the Manager Group, the driving force of the anti-Thaksin, royalist People’s Alliance for Democracy (PAD). The radio programme was broadcast on the night of April 30 at FM 97.75, or Manager Radio, during which the hosts incited listeners to come to the forum to attack Chotisak and disrupt the event.
(Note: since the evening of May 2, the audio files of the programme for April 29 and 30 have been removed from www.managerradio.com, but can be downloaded here (29) and here (30).)
The organizers therefore informed participants that Chotisak would not join the panel at the forum for safety reasons.”
--I love FINAL SOLUTION very much, and want to create a poll which can include this film. One of the interesting things in this film is that it allows me to have a glimpse into Gujarat, a place where I had no knowledge about. This fact inspires me to make a list of my favorite films which let me explore unfamiliar places.
THESE GREAT FILMS LET ME EXPLORE UNFAMILIAR PLACES. WHICH FILMS DO YOU LIKE?
1.ALEXEI AND THE SPRING (2002, Motohashi Seiichi, Belarus)
2.CALENDAR (1993, Atom Egoyan, Armenia)
3.COLD HOMELAND (1994, Volker Koepp, Kaliningrad in Russia)
4.THE CORRIDOR (1994, Sharunas Bartas, Lithuania)
http://www.imdb.com/title/tt0376746/
5.THE CRAZY ON THE ROCKS (2007, Altaf Mazid, Assam? in India)
I put “?” after Assam, because I’m not sure if this film was shot in Assam or not.
6.FALLEN (2005, Fred Kelemen, Latvia)
http://www.imdb.com/title/tt0470840/
7.FINAL SOLUTION (2003, Rakesh Sharma, Gujarat in India)
You can watch this film here:
http://video.google.com/videoplay?docid=3829364588351777769&q=&hl=en
8.THE FLIGHT OF THE BEES (1998, Jamshed Usmonov + Min Boung-hun, Tajikistan)
9.THE HORSE THIEF (1986, Tian Zhuangzhuang, Tibet)
You can read Jonathan Rosenbaum’s review of this film here:
http://www.jonathanrosenbaum.com/?p=7763
I knew about Rosenbaum’s website from Girish Shambu’s blog:
http://www.girishshambu.com/blog/2008/05/alphabet-of-cinema.html
10.HUNTING THE LION WITH BOW AND ARROW (1965, Jean Rouch, Mali/Niger)
11.LAND WITHOUT BREAD (1933, Luis Bunuel, Las Hurdes in Spain)
12.LAST TRAPPER (2004, Nicolas Vanier, Yukon in Canada)
13.LITTLE MEN (2003, Nariman Turebayev, Kazakhstan)
http://www.imdb.com/title/tt0376746/
14.MANORO (2006, Brillante Mendoza, Pampanga in Philippines)
15.PALMS (1993, Artur Aristakisyan, Moldavia)
16.POSSIBLE LIVES (2006, Sandra Gugliotta, Patagonia in Argentina)
You can read Alone Again’s review of this film in Thai here:
http://www.bloggang.com/viewdiary.php?id=aloneagain&month=04-2008&date=25&group=1&gblog=70
17.THE ROAD TO KALIMUGTONG (2006, Mes de Guzman, Benguet in Philippines)
18.THE SORTER’S BRIDGE (1999, Charles de Meaux + Philippe Parreno, Pamir)
19.THE TIN MINE (2005, Jira Maligool, Takuathung in Thailand)
http://www.imdb.com/title/tt0454190/
20.UNKNOWN PLEASURES (2002, Jia Zhangke, Shanxi in China)
You can cast multiple votes.
Subscribe to:
Post Comments (Atom)
13 comments:
สวัสดีครับคุณ MdS
เห็นคุณอ้างอิงถึงหนังเรื่อง HUNTING THE LION WITH BOW AND ARROW (1965, Jean Rouch, Mali/Niger)ก็เลยอยากขอความรู้หน่อยน่ะครับ
คือ อยากรบกวนคุณ MdS ช่วยเล่าเรื่องราวย่อ ๆ ในหนังเรื่องนี้หน่อยได้มั้ยครับ นอกจากนี้ อยากทราบว่าคุณได้ดูหนังเรื่องนี้ที่ไหน และเคยดูหนังเรื่องอื่นของ Jean Rouch อีกหรือไม่ และอยากทราบว่าเราพอจะหาดีวีดีหนังของเขามาดูได้ไหมครับ
เพราะผมเคยอ่านหนังสือทางด้าน visual anthropology บางเล่ม (แต่ก็อ่านแบบไม่ละเอียดด้วยความรู้ภาษาอังกฤษแบบงู ๆ ปลา ๆ)และพบว่า Jean Rouch ซึ่งจบปริญญาเอกทางด้านมานุษยวิทยา ถือเป็นผู้กำกับภาพยนตร์ชาติพันธุ์ (ethnographic film)ที่สำคัญมากคนหนึ่ง แต่ก็แน่นอน ว่าผมไม่เคยดูหนังของเขาเลย
นอกจากนี้ ที่ห้องสมุดของศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร ก็มีหนังสือเล่มใหญ่ที่ว่าด้วยหนังของ Rouch และรวบรวมบทความเกี่ยวกับภาพยนตร์ชาติพันธุ์ที่เขาเขียนขึ้น ซึ่งจัดพิมพ์เนื่องในโอกาสที่เขาเสียชีวิต
ขอตอบคำถามของคุณปราปต์ดังนี้นะครับ
1.ผมได้ดูหนังเรื่อง HUNTING THE LION WITH BOW AND ARROW ที่ สมาคมฝรั่งเศส ถ.สาทรใต้ พร้อมกับคุณ NOINONG และ "เก้าอี้มีพนัก" ในช่วงประมาณต้นเดือนก.ย.ปี 2006 ครับ ที่จำเวลาดูได้ดีเป็นเพราะว่า ช่วงสุดสัปดาห์ที่ได้ดูหนังเรื่องนี้เป็นสุดสัปดาห์ที่มีความสุขมากๆ รู้สึกว่าชีวิตราบรื่น, สดใส สวยงาม แต่พอสัปดาห์ต่อมา ก็รู้สึกว่าชีวิตดำมืด ไม่มีอะไรแน่นอนอีกต่อไป (เพราะเกิดเหตุการณ์ 19 ก.ย.)
2.ผมยังไม่เคยดูหนังเรื่องอื่นๆของ Jean Rouch เลยครับ ผมมีวิดีโอหนังเรื่อง CHRONICLE OF A SUMMER (1961) ของเขาเก็บเอาไว้ แต่ก็ยังไม่ได้หยิบมาดูสักที
3.เท่าที่รู้มา ตอนนี้ยังไม่มีการนำหนังของเขามาผลิตเป็นดีวีดีที่มีซับไตเติลภาษาอังกฤษเลยครับ เพราะฉะนั้นคนส่วนใหญ่ทั้งในอังกฤษ, อเมริกา และประเทศไทย ก็เลยยังไม่ได้ดูหนังของเขาเหมือนๆกัน
ทางเดียวที่เราจะได้ดูหนังของเขาในตอนนี้ ก็คือพยายามคะยั้นคะยอให้ทางสมาคมฝรั่งเศสนำหนังของเขามาฉายครับ ถ้าหากคุณปราปต์กับเพื่อนๆสนใจจะดูหนังของเขา ก็ลองติดต่อไปที่ mediatheque@alliance-francaise.or.th เผื่อว่าโปรแกรมเมอร์ของที่นั่นจะสนใจทำตามคำขอ
--ผมมีหนังสือ THE CINEMATIC GRIOT: THE ETHNOGRAPHY OF JEAN ROUCH (1992) ที่เขียนโดย Paul Stoller ครับ ผมได้หนังสือเล่มนี้มาจากร้าน Shaman ที่ถนนข้าวสารเมื่อหลายปีก่อน ถ้าหากคุณปราปต์สนใจจะอ่านหนังสือเล่มนี้ ก็บอกมาได้นะครับ ผมยินดีจะซีร็อกซ์หนังสือเล่มนี้แล้วส่งให้คุณปราปต์ไปอ่านฟรีๆ
--นิตยสาร FILM COMMENT เคยลงบทความเกี่ยวกับ Jean Rouch ด้วยครับ ในเล่มประจำเดือน MAY/JUNE 2005 และสามารถอ่านบทสัมภาษณ์ JEAN ROUCH ได้ทางเว็บไซท์ของ FILM COMMENT ที่
http://www.filmlinc.com/fcm/5-6-2005/rouch.htm
http://www.filmlinc.com/fcm/5-6-2005/rouch2.htm
--อ่านรายละเอียดเพิ่มเติมเกี่ยวกับ Jean Rouch ได้ที่
http://www.der.org/jean-rouch
เว็บไซท์นี้มีหนังของ JEAN ROUCH ขายพร้อมซับไตเติลภาษาอังกฤษด้วย แต่ดูราคาแล้วเป็นราคาที่แพงมาก คงตั้งใจขายให้พวกมหาวิทยาลัย/พิพิธภัณฑ์ มากกว่าจะขายให้คนธรรมดา
เว็บไซท์นี้มีเรื่องย่อของ HUNTING THE LION WITH BOW AND ARROW ด้วย อ่านได้ที่นี่ครับ
http://www.der.org/films/lion-hunters.html
" Footage for this film was collected over a seven year period during the 1950s and 1960s, among the Fulani herdsmen and Songhay villagers in the Savannah of northern Niger and Mali. The Songhay call this region "the bush which is farther than far the land of nowhere."
The Songhay were the dominant people of a formerly powerful kingdom, destroyed in the sixteenth century, that stretched along the Niger River from the edge of the Sahara to the rain forests in the south. The Songhay today are millet-farmers and are still considered to own the land, on which Fulani herdsmen have rights of pastorage. Songhay also own the land's game, including lions.
Lion-hunting is reserved by tradition to the Gao, a group of Songhay-speaking professional hunters, masters of the techniques and rituals of poison-making. The Gao also possess great knowledge of the bush, and are thought to have a special relationship with the spirits that inhabit its trees and waters. When lions raid Fulani cattle, the Fulani must request that Songhay chiefs send Gao hunters to their aid. The Songhay chiefs are paid by the Fulani in cattle. The Gao receive the lion's skin, skull, and other parts, including the heart which can command up to $1000 in coastal cities where it is used in medicine and ritual.
Lions generally kill only sick or injured cattle, but on occasion they will attack a healthy herd. The Gao are usually able to determine which lion is responsible, for they know the characteristics and habits of individual animals. In the film, for example, the hunters attempt to find "The American," so called because of its strength and cleverness. although lion-hunting is a test of manly courage, the Gao sing the praises not only of the hunters but also the hunted, following a kill. Once trapped and shot with poison arrows, the lion is commanded to die quickly, and to forgive the hunters. Its body is struck three times to liberate the animal's soul, so that it will not drive the hunters mad.
The film follows not only several hunts, including one in which an inexperienced Fulani is seriously wounded by a cornered lion, but also the technology of the hunt. Bows are cut from forest trees, metal arrow points are forged, and poison is made from the seeds of the "poison tree." This tree, also called the "mother of magic," is found in the bush some 300 miles south of the Gao homeland. Every four years the Gao hunters travel to this area, where they prepare the poison within a "magic circle." The seeds are boiled in water while spells are recited. Upon return to Gao country, traps are set with perfume bottles buried under piles of pebbles, for lions, the Gao explain, are like girls, adoring perfume.
The relationships between the Gao, other Songhay-speakers, and the Fulani herdsmen are intriguing. Perhaps, as Rouch suggests, the Gao serve as mediators between an ancient hunting way of life, with its spirits of the bush, and the life and gods of pastoralism and settled agriculture. One may also speculate on the economic, social, and political relationships that are sustained or even created through the lion hunt."
--สำหรับความเห็นส่วนตัวของผมที่มีต่อ HUNTING THE LION WITH BOW AND ARROW นั้น ผมเคยเขียนไว้เล็กน้อยดังนี้ครับ
http://celinejulie.blogspot.com/2006/11/cruel-nature.html
"ส่วนใน HUNTING THE LION WITH BOW AND ARROWS นั้น หนังเรื่องนี้แสดงให้เห็นชาวป่าพื้นเมืองที่ต้องฆ่าสิงโตที่มากินปศุสัตว์ที่ชาวบ้านเลี้ยงเอาไว้ ซึ่งดิฉันดูแล้วก็รู้สึกสงสาร “ทุกฝ่าย” ในหนังเรื่องนี้ ทุกฝ่ายในหนังเรื่องนี้ไม่ได้ทำอะไรผิดเลย แต่พวกเขาก็ต้องฆ่ากันเพื่อให้ตัวเองอยู่รอดตามกฎเกณฑ์ของธรรมชาติ ปศุสัตว์ไม่ได้ทำอะไรผิด แต่พวกมันก็ต้องถูกสิงโตฆ่าตาย สิงโตเองก็ไม่ได้ทำอะไรผิด มันไม่ได้ฆ่าปศุสัตว์เพราะกิเลสตัณหา แต่มันต้องฆ่าปศุสัตว์กินเพื่อความอยู่รอดของมัน ส่วนชาวบ้านก็ไม่ได้ทำอะไรผิด เพราะถ้าหากพวกเขาไม่ฆ่าสิงโต พวกเขาก็ไม่สามารถเลี้ยงปศุสัตว์ได้ต่อไป ดูหนังเรื่องนี้แล้วก็ทำให้รู้สึกว่า ถ้าหากธรรมชาติสร้างให้สิ่งมีชีวิตเหล่านี้สามารถมีชีวิตอยู่ได้โดยไม่ต้อง “กิน” ซะ ทุกฝ่ายก็น่าจะอยู่ร่วมกันได้โดยไม่ต้องฆ่ากัน"
ความเห็นเพิ่มเติมของผมที่มีต่อหนังเรื่องนี้
1.ในแง่ของการนำเสนอชีวิตชนพื้นเมืองนั้น ผมรู้สึกว่าหนังเรื่องนี้นำเสนอออกมาในแบบ "กลางๆ" ดี ดูแล้วไม่รู้สีกว่าหนังเหยียดหยามชนพื้นเมือง และไม่รู้สึกว่าหนังพยายามเชิดชูความเป็น exotic ของชีวิตชนพื้นเมืองหรือพิธีกรรมของชนพื้นเมือง
2.ฉากนึงที่ดูแล้วหัวใจแทบหลุดออกมา คือฉากที่ชาวบ้านทำกับดัก แล้วดักสิงโตได้ตัวนึง แต่ขณะที่ชาวบ้านและทีมงานถ่ายหนังสารคดีไปรายล้อมมุงดูสิงโตที่ติดกับดักอยู่นั้น สิงโตเกิดหลุดออกจากกับดักมาได้ และพยายามจะกินชาวบ้านคนหนึ่ง ทุกคนก็เลยวิ่งหนีกันเตลิดเปิดเปิง คนดูก็หัวใจแทบหยุดเต้นไปด้วยเพราะรู้ว่าเหตุการณ์นี้เป็นเรื่องจริง ทั้ง JEAN ROUCH + ทีมงานก็ต้องวิ่งหนีกันด้วย เราไม่เห็น "ภาพ" ถนัดๆของเหตุการณ์นี้ เพราะตากล้องก็ต้องวิ่งหนี ไม่มีโอกาสยืนเก็บภาพงามๆ ของชาวบ้านที่กำลังจะถูกสิงโตกิน แต่คนดูก็ได้ยิน "เสียง" ของเหตุการณ์สยดสยองนี้ โชคยังดีที่ชาวบ้านฆ่าสิงโตได้ทันขณะที่สิงโตกำลังจะฆ่าชาวบ้านคนนึง
จริงๆแล้วผมลืมเหตุการณ์ข้างต้นนี้ไปแล้ว แต่ที่หวนรำลึกถึงเหตุการณ์นี้ขึ้นมาได้อีกครั้ง เพราะหนังสือของ PAUL STOLLER เขาเขียนถึงหนังเรื่อง HUNTING THE LION เอาไว้เต็มๆหนึ่งบทความ พอได้อ่านบทความนี้ในหนังสือก็เลยทำให้นึกถึงฉากสำคัญในหนังขึ้นมาได้
พอดีเจอข่าวเก่าในวันที่ 20 ก.พ.ปี 2004 ตอนที่ฌอง รูชเสียชีวิต ก็เลยนำข่าวนี้มาแปะให้อ่านกันครับ
ฌอง รูช ผู้กำกับภาพยนตร์ชาวฝรั่งเศสที่เป็นผู้บุกเบิกแนวทางการถ่ายทำภาพยนตร์สารคดีที่เรียกว่า cinema verite และเป็นผู้ช่วยเหลือก่อตั้งวงการภาพยนตร์แอฟริกัน เสียชีวิตแล้วในเหตุการณ์รถชนที่ประเทศไนเจอร์
คนอีก 3 คนในรถคันนั้นได้รับบาดเจ็บสาหัส โดยคนทั้งสามได้แก่ภรรยาของรูช, มุสตาฟา อัลฮาสซาน ซึ่งเป็นผู้กำกับภาพยนตร์ชาวไนเจอร์ และดามูร์ ซิกา ซึ่งเป็นนักแสดง โดยเหตุการณ์นี้เกิดขึ้นห่างจากกรุงเนียมีย์ไปทางตอนเหนือราว 600 กิโลเมตร (375 ไมล์) ในคืนวันพุธ
"เรายังไม่ทราบรายละเอียดแน่ชัดของอุบัติเหตุในครั้งนี้ ฌอง รูชกำลังเดินทางในรถของมุสตาฟา อัลฮาสซาน ซึ่งเป็นเพื่อนของเขา" โลรองท์ คลาเวล ผู้อำนวยการศูนย์วัฒนธรรมฝรั่งเศส-ไนเจอร์กล่าวกับรอยเตอร์ในวันพฤหัสบดี
รูชเกิดที่ปารีสในปี 1917 และเขาใช้เวลาทำงานส่วนใหญ่อยู่ในแอฟริกาตะวันตก หลังจากที่เคยทำงานในภูมิภาคนี้ในฐานะวิศวกรโยธาในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง
รูชถ่ายภาพยนตร์เรื่องแรกในแม่น้ำไนเจอร์หลังจากสงครามโลกครั้งที่สองเพิ่งสิ้นสุดลงได้ไม่นาน และเขาก็พัฒนาสไตล์การถ่ายทำที่เป็นตัวของตัวเองขึ้นมาเมื่อขาตั้งกล้องของเขาเกิดร่วงหล่นลงไปในแม่น้ำ ทั้งนี้ ผลงานดังของเขารวมถึงภาพยนตร์เรื่อง Jaguar และ "Moi, Un Noir" ซึ่งมีเนื้อหาเกี่ยวกับชีวิตประจำวันของคนงานหนุ่ม 3 คนในกรุงอาบิดจันของประเทศไอวอรีโคสต์
Moi, Un Noir มีความคล้ายคลึงกับภาพยนตร์ยุคแรกๆของรูชตรงจุดที่ภาพยนตร์เรื่องนี้พูดถึงการอพยพมาอยู่ในเมืองริมชายฝั่ง และพูดถึงการติดต่อสัมพันธ์กันระหว่างเจ้าของอาณานิคมกับชาวพื้นเมือง ทั้งนี้ ฌอง-ลุค โกดาร์ด ผู้กำกับภาพยนตร์ชื่อดังของฝรั่งเศสเรียก Moi, Un Noir ว่าเป็น "ภาพยนตร์ฝรั่งเศสที่ดีที่สุดนับตั้งแต่สิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่สอง" และทั้งเขากับฟรังซัวส์ ทรุฟโฟต์ต่างก็ได้รับแรงบันดาลใจอย่างมากจากภาพยนตร์ของรูช
วงการภาพยนตร์ยกย่องให้รูชเป็นหนึ่งในบิดาของ cinema verite ซึ่งเป็นสไตล์การถ่ายทำภาพยนตร์สารคดีที่ผู้กำกับปล่อยให้คนที่ถูกถ่ายสามารถทำสิ่งต่างๆได้อย่างเป็นอิสระโดยที่ผู้กำกับจะไม่เข้าไปควบคุม
ภาพยนตร์แนว cinema verite ส่วนใหญ่จะถ่ายทำโดยใช้มือถือกล้องแทนการใช้ขาตั้งกล้องและใช้เสียงจากธรรมชาติ โดยมีการฝึกซ้อมก่อนการถ่ายทำน้อยที่สุดและใช้การตัดต่อน้อยที่สุด ผู้กำกับภาพยนตร์แนวนี้ต้องการความสมจริงและต้องการบันทึกสิ่งที่เกิดขึ้นอย่างฉับพลันโดยใช้อุปกรณ์การถ่ายทำที่พกพาง่ายและไม่เข้าไปเกะกะในระหว่างการถ่ายทำ และมักไม่มีการวางแนวเรื่องไว้ล่วงหน้า
รูชเป็นคนคิดคำว่า cinema verite หรือ "film truth" ขึ้นมาเพื่อใช้บรรยายลักษณะของภาพยนตร์เรื่อง Chronicle of a Summer ที่เขากำกับ และภาพยนตร์เรื่องนี้ถือเป็นภาพยนตร์แนว cinema verite เรื่องแรก
รูชมาที่ประเทศไนเจอร์ในช่วงนี้เพื่อเข้าร่วมเทศกาลภาพยนตร์แห่งหนึ่งที่ใช้เวลาดำเนินงานราว 1 สัปดาห์ โดยประเทศไนเจอร์เป็นประเทศที่มีชื่อเสียงเรื่องอุบัติเหตุตามท้องถนน
รูชเคยร่วมงานกับผู้สร้างภาพยนตร์ชาวแอฟริกันหลายคน ซึ่งรวมถึงดามูร์ที่เคยช่วยรูชในการถ่ายทำภาพยนตร์เกี่ยวกับการล่าฮิปโปโปเตมัส โดยดามูร์ได้ร่วมงานกับรูชเป็นเวลานานเกือบถึง 40 ปี ซึ่งรวมถึงการทำงานด้านการบันทึกเสียงใน The Mad Masters และ การแสดงนำใน Jaguar
รูชแนะนำเทคโนโลยีด้านภาพยนตร์ให้ชาวแอฟริกันหลายคนได้รู้จักและช่วยฝึกอบรมช่างเทคนิคในระหว่างที่เขาทำงานด้วย โดยผู้กำกับที่เคยร่วมงานกับรูชรวมถึงอูมารู กานดา ซึ่งเป็นชาวไนเจอร์, ซาฟี เฟย์ ซึ่งเป็นชาวเซเนกัล และดีไซร์ เอแคร์ ซึ่งเป็นชาวไอวอรีโคสต์
รูชสร้างภาพยนตร์เกี่ยวกับชนเผ่าต่างๆในแอฟริกาตะวันตกมากกว่า 70 เรื่อง โดยเขาเคยสร้างภาพยนตร์ในประเทศกานา, ไนเจอร์, มาลี และอัปเปอร์ โวลตา โดยมีตั้งแต่ภาพยนตร์เกี่ยวกับพิธีกรรมอันแปลกประหลาด, ภาพยนตร์ที่ให้นักแสดงด้นบทกันสดๆ และภาพยนตร์ที่สร้างจากตำนานพื้นบ้านของไนเจอร์
รูชเคยเข้าชิงรางวัลปาล์มทองคำในเทศกาลภาพยนตร์เมืองคานส์ปี 1976 จาก Babatu และเคยได้รับรางวัลหลุยส์ เดลลุคจาก Moi, Un Noir นอกจากนี้ เขายังได้รับรางวัลความสำเร็จตลอดชีพจากสมาคมภาพยนตร์สารคดีระหว่างประเทศในปี 2001
The Mad Masters หรือ Les Maitres fous (1954) ของรูชมีเนื้อหาเกี่ยวกับพิธีเฉลิมฉลองประจำปีของลัทธิเฮาคูในประเทศไนเจอร์และประเทศกานาตั้งแต่ทศวรรษ 1920-1950 โดยผู้เข้าร่วมในพิธีนี้จะทำพิธีเข้าทรงเพื่อเปิดโอกาสให้วิญญาณเข้ามาสิงสู่ในร่างของตัวเอง
รูชร่วมงานกับเอ็ดการ์ โมแรง ซึ่งเป็นนักสังคมวิทยาในการกำกับ Chronicle of a Summer (1961) ซึ่งเก็บภาพการสัมภาษณ์ประชาชนตามท้องถนนในกรุงปารีสโดยให้ผู้สัมภาษณ์ถามประชาชนเหล่านี้ว่าพวกเขามีความสุขดีหรือไม่ และหลังจากนั้นประชาชนผู้ให้สัมภาษณ์ก็จะได้มีโอกาสดูฟิล์มที่ถ่ายทำการสัมภาษณ์ และสามารถแสดงความคิดเห็นเพิ่มเติมได้ต่อไป
รูชถ่ายทำ Chronicle of a Summer ในช่วงที่สงครามแอลจีเรียเพิ่งสิ้นสุดลง และภาพยนตร์เรื่องนี้เป็นเรื่องแรกๆที่ทลายกำแพงที่กั้นขวางระหว่างผู้กำกับภาพยนตร์สารคดีกับผู้อยู่ต่อหน้ากล้อง เพราะผู้ชมภาพยนตร์เรื่องนี้จะได้เห็นตัวผู้กำกับปรากฏอยู่ต่อหน้ากล้องด้วย
Chronicle of a Summer มีความสำคัญอย่างมากต่อเทคนิคการถ่ายทำภาพยนตร์ในยุคนั้น เพราะผู้สร้างภาพยนตร์เรื่องนี้ได้พัฒนาอุปกรณ์บันทึกเสียงให้มีขนาดกะทัดรัดและพกพาง่ายเพื่อจะได้บันทึกเสียงการสัมภาษณ์ได้เป็นเวลานานและไม่ขาดตอน และอุปกรณ์ดังกล่าวก่อให้เกิดความเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่ในวงการภาพยนตร์สารคดี
Jaguar (1954-1967) ของรูชเป็นภาพยนตร์ที่มีทั้งความเป็นเรื่องแต่ง, เรื่องจริง และการวิเคราะห์สังคม โดยเนื้อหาของเรื่องเกี่ยวข้องกับชายหนุ่ม 3 คนจากทุ่งหญ้าซาวันนาห์ในไนเจอร์ที่ต้องการแสวงหาความร่ำรวยและการผจญภัยในเมืองใหญ่ของประเทศกานา
The Lion Hunters (1965) ของรูชถ่ายทำในทุ่งหญ้าซาวันนาห์ทางภาคเหนือของไนเจอร์และในประเทศมาลี โดยเป็นการสำรวจความสัมพันธ์ระหว่างผู้ล่าและเหยื่อ รวมทั้งพูดถึงเรื่องที่รูชเองมีส่วนร่วมในการล่าด้วย
ผลงานภาพยนตร์ของรูชรวมถึง Le Reve plus fort que la mort (2003), Madame L'Eau (1993), The Sons of Water (1958), Mammy Water (1953), Rainmakers (1951), Baby Ghana (1957), The Punishment (1962), That Tender Age (1964), Six in Paris (1965), Jackville (1965), Alpha noir (1965) และ Little by Little (1971)
ขอบคุณมาก ๆ เลยครับ สำหรับข้อมูลเกี่ยวกับ Jean Rouch
I voted for all four of the films you propose that I've been able to see, as I like all four. Probably CALENDAR is my very favorite however. Though of course LAND WITHOUT BREAD is a marvelous and important classic, and I am very impressed by UNKNOWN PLEASURES and HORSE THIEF as well.
I don't think I've even heard of the others on the list, except for the Rouch and THE TIN MINE. I missed the latter when it played somewhat (though not very) near me a couple years ago. Should I make a strong effort to seek it out on DVD?
Thank you very much for your vote, Brian.
--As for THE TIN MINE, I think it is not a must-see film. I like this film a lot, but I’m not sure if it is really worth a “strong” effort to seek it out. I recommend this film, but only in the case that it is easy to find its DVD.
Compared to most mainstream Thai films, I like THE TIN MINE very much. That’s not to say that THE TIN MINE is excellent. It means that THE TIN MINE is not as emotionally manipulative as most Thai films. I like the “rhythm of life” in THE TIN MINE. It seems as if the film lets the uneven, uneventful, unsmooth, inharmonious rhythm of life control the rhythm of the film, while other Thai films lets the rules of three act or the rules of climax control the rhythm of the film. One Thai critic from Bioscope magazine made an interesting observation that THE TIN MINE is a film in four acts, not in standard three acts.
I much prefer THE TIN MINE to MEHKHONG FULL MOON PARTY (2002, Jira Maligool, A-). In my personal opinion, MEHKHONG FULL MOON PARTY is too emotionally manipulative, or it tries to manipulate me to feel something I hate. It’s a kind of feel-good film which makes me feel bad instead. Fortunately, the thing I don’t like in MEHKHONG FULL MOON PARTY is not to be found in THE TIN MINE.
One of the interesting things about THE TIN MINE is that some people seem to hate this film very much, but they like MEHKHONG FULL MOON PARTY. Fortunately, many of my friends share the same opinion with me—we love THE TIN MINE. I think THE TIN MINE is a kind of film which I want to promote because it is undeservedly attacked by some people. I want to shout to the world that I love THE TIN MINE, not because I think THE TIN MINE is one of the best Thai films of all time, but just because some people hate it.
--I’m very sorry about what happened to your blog (the disappearance of old information), but I’m glad that you continue blogging as usual. :-)
ตอบคุณปราปต์
ผมเพิ่งรู้ว่าทางดวงกมลฟิล์มเฮาส์เคยนำหนังเรื่อง PETIT A PETIT หรือ LITTLE BY LITTLE (1971, Jean Rouch) มาฉายที่ซีคอนสแควร์เมื่อหลายปีก่อน ไม่รู้เหมือนกันว่าทางดวงกมลฟิล์มเฮาส์จะยังสามารถนำหนังเรื่องนี้กลับมาฉายได้อีกหรือเปล่า ถ้าหากคุณปราปต์อยากดูหนังเรื่องนี้ ก็ลองติดต่อทางดวงกมลฟิล์มเฮาส์ได้ที่ filmvirus@gmail.com นะครับ เผื่อว่าเขาจะสามารถนำหนังเรื่องนี้กลับมาฉายให้ได้ดูกันอีก
เข้าใจว่าเวอร์ชันที่ทางดวงกมลฟิล์มเฮาส์เคยเอามาฉาย น่าจะเป็นเวอร์ชันความยาว 96 นาที แต่ที่จริงแล้วหนังเรื่องนี้มีอีกเวอร์ชันหนึ่งที่มีความยาว 4 ชั่วโมง และได้รับการยกย่องอย่างรุนแรงมากจากนักวิจารณ์ โดย Sam DiIorio ได้เขียนถึงหนังยาว 4 ชั่วโมงเรื่องนี้ไว้ในบทความ BORDER CROSSING ในนิตยสาร FILM COMMENT, May/June 2005 ด้วย
Sam DiIorio ยังตั้งข้อสังเกตอีกด้วยว่า LITTLE BY LITTLE เวอร์ชันความยาว 4 ชั่วโมง เหมือนเป็นต้นแบบให้กับหนังฝรั่งเศสบางเรื่องในทศวรรษ 1970 อย่างเช่นเรื่อง
1.THE MOTHER AND THE WHORE (1973, Jean Eustache, 210 min, A+)
2.LES HAUTES SOLITUDES (1974, Philippe Garrel, 80 min แต่เป็นหนังเงียบขาวดำ)
3.A GIRL IS A GUN (1971, Luc Moullet)
หนังเรื่องนี้มีขายแล้วในกรุงเทพในรูปแบบดีวีดี
4.OUT 1: NOLI ME TANGERE (1971, Jacques Rivette, 13 hours)
Thanks for the words on THE TIN MINE, celinejulie. I disliked the emotional manipulation of MEKHONG FULL MOON PARTY too. What I liked about the film were the documentary-esque elements in its depiction of the Nong Khai festival. But they were overshadowed by the manipulative elements. Too bad; I really wanted to like the film going in.
My archives have been restored and can be found here. I'm slowly but surely porting over my favorite pieces back to my "real" domain.
Brian, it’s very great to see that your archives have been restored. :-)
I feel the same as you about The Tin Mine - I really enjoyed it, and it's very well made, but it's not aa classic. I was surprised by the amount of negative reviews it received when it was released.
I’m glad you like THE TIN MINE. Another thing I like in THE TIN MINE is that it is one of very few vocation-oriented Thai films which are really serious about the vocations depicted. I think most Thai films or most Thai TV dramas are not serious about the professions of the characters. This is the opposite of Japanese films or TV series. Even some US TV melodramas, such as MELROSE PLACE, pay more attention to the problems in the careers of the characters more than Thai dramatic films.
I just saw FIRST FLIGHT (2008, Tanit Jitnukul, A-/B+) in January, and think it is a little bit funny that the film shows the training of these Thai pilots for only 5-10 minutes. I think the film might have improved if it was more serious about the vocation. However, a critic (http://konmongnang.exteen.com ) points out that the film still has some good points, especially the depiction of the democratization of Thailand during that era by having “a proletariat” as the film’s main character.
As for vocation-oriented or sports-oriented films, I think the opposites of THE TIN MINE include films such as CHEERLEADER QUEENS (2003, Poj Arnon, B-) and MATCH POINT (2005, Thanapon Thanangkul, B-). These two films should have paid more attention to the struggle of the cheerleaders or the volleyball players, respectively, in the films.
Post a Comment