Saturday, March 31, 2007

APPARENTLY WITH MANY SURPRISES

THIS IS A COPY OF AN E-MAIL I SENT TO SOMEONE:

There are many reasons why I like WOLF CREEK. One reason is that I maybe insane. Hahaha.

1.I always like movies about serial killers, and WOLF CREEK is one of my most favorite films in this genre. It is very exciting, and surprises me a lot. I guessed wrong about who would live and who would die, and that’s one of the main reasons why it is very exciting. If it were predictable, it would not have been as exciting as this.

2.WOLF CREEK is different and better from many serial-killer films in many ways. One difference is the structure of the film of which the first half is a romantic road movie. I think this is a very brilliant idea that I like very much. It lends great credibility to the story. It makes me care a lot about the good characters. It makes the good characters have real flesh, blood, and soul. Most serial-killer movies try to scare the audience as early as possible. The latest example of this might be SEE NO EVIL (2006, GREGORY DARK, B+). Most serial-killer movies provide details about the characters only when the details are important to the plot, or only when the details make the characters look suspicious. Most of these films don't make their characters look like real human beings. These films make their characters look like sexy groups of people whose main purpose of their existence is either to survive or not to survive. There seem to be no other purposes for the existence of these characters.

In my personal point of view, some serial-killer movies are better than most just because they provide unnecessary details about their characters, or just because they don't try to scare the audience as early as possible. Two movies that I like because of this are JEEPERS CREEPERS (2001, VICTOR SALVA, A+) and HOUSE OF WAX (2005, JAUME COLLET-SERRA, A+). In JEEPERS CREEPERS, the first five minutes of the film has two characters talking about things unnecessary to the plot, but this scene is very important to the movie, because it makes me feel as if these characters are real humans, and when you feel the characters are real humans, the story will seem more real to you, and that can make you feel much more frightened, and more painful when the characters are hurt.

In the case of HOUSE OF WAX, except for the opening scene, there is nothing frightening happening in the movie for the first fifteen minutes or so. The characters in HOUSE OF WAX don't seem like humans, anyway. They still look like 'expendable characters' like in most serial-killer movies, but I still like the first part of the film. Somehow, it feels like a breathing space. It makes you feel that these characters don't exist just to survive or to be killed. It makes you feel that these characters had really 'lived' before they met the serial killer.

However, WOLF CREEK goes far beyond JEEPERS CREEPERS and HOUSE OF WAX. The nothing-happening part is very long, and the longer the better. I think the characters in WOLF CREEK might be the most "human" in serial-killer movies. I feel as if these characters really had "lives", really had "dreams", really have flesh and blood and soul. Moreover, I feel as if these characters are more "real", or more "human" than characters in many dramatic movies. Characters in WOLF CREEK are more real to me and more human to me than characters in CRASH (2005, PAUL HAGGIS, A+). Characters in CRASH make me feel almost all the time that they exist just to teach the audience something, while characters in WOLF CREEK make me feel that they exist because they exist.


3. The romantic part in this film is very very credible in my point of view. It is much more credible than many romantic movies. The awkward behaviors between the characters in WOLF CREEK are what I might find only in Eric Rohmer movies or in ALL THE VERMEERS IN NEW YORK (1990. JON JOST, A+).

The other girl, who is not the object of desire of the handsome male protagonist, is a very good character in my point of view. She reacts to the blossoming romance of her best friend, not by envying, but by encouraging the romance, though I think deep down inside she might wants the guy for herself. This is a kind of supporting characters which always make a deep impact in my heart. Maybe it is because I'm a guy who always wants husbands of my friends, Hahaha. That's why I feel very connected with this kind of characters. The other character who can be compared to this character in WOLF CREEK is the sister in TWO ENGLISH GIRLS (1971, FRANCOIS TRUFFAUT, A+). Ann Brown in TWO ENGLISH GIRLS might like the guy (Jean-Pierre Leaud) very much, but she still encourages him to be with her sister.

The main female protagonist in WOLF CREEK is also very good. She is not too beautiful or too sexy, and that makes her seem more real.


4.The most important reason for my fondness might be this one: WOLF CREEK seems to present the universe in the same way as I view the universe. WOLF CREEK seems to present the universe as CRUEL and UNFAIR, and the movie did this by the emphasizing of the tremendously beautiful landscape and by the dialogue of the characters.

If I don't remember it wrongly, the characters question why the meteor had to strike the earth at this certain place, or something like that. And that dialogue makes me think about FATE. Why did the meteor have to strike the earth at this place? Why did the characters' car break down because of the strange power of the crater? Why did they have to meet the serial killer? Why didn't some of them survive? The questioning about "WHAT" decides the fate of the meteor seems to impact the whole movie. Because of that question, the movie seems to ask if there is a governing benevolent power in the universe or not. And if there is a governing benevolent power, why did this power make the meteor strike the earth at this certain place and make these good characters get butchered indirectly. Is the governing power in the universe really benevolent, merciful, or fair, or is it really indifferent to mankind, cruel and unjust?

And this question is very important in real life, or in the life of the audience outside the movie theaters.

The dialogue of the characters is not the only thing that makes me think about the questioning of the governing benevolent power in the universe. The tremendously beautiful landscape and the solar eclipse scene also make me think about the universe, too. If WOLF CREEK were just a normal serial-killer movie, the landscape would not be emphasized as much as this, or it would be emphasized only for its haunting atmosphere. But in this movie, its beauty is emphasized in such a way that makes me feel as if the landscape, the nature, or the unseen power of the nature seem to be INDIFFERENT to mankind, or the suffering of mankind.

WOLF CREEK was shown in Thailand nearly the same time as SUPERMAN RETURNS (2006, BRYAN SINGER, A-) was shown. Coincidentally, the sun seems to be much more than the sun in both movies. In SUPERMAN RETURNS, the sun shines a benevolent light. The sun seems to be something good. The universe seems to be good. But in WOLF CREEK, the sun also shines a very beautiful light, but the sun (or the universe) is INDIFFERENT to the suffering of mankind. Superman seems to smile and be happy under the sun, while characters in WOLF CREEK tries so hard to survive under the same sun. Somehow, watching these two movies nearly at the same time makes me think about what TESS said in TESS OF THE D'UBERVILLES. She asked, “I shouldn’t mind learning why—why the sun do shine on the just and the unjust alike.”

The suffering under the beautiful landscape in WOLF CREEK also makes me think about an important scene in LORD OF THE FLIES. In that scene the pig is brutally butchered in a beautiful natural landscape. What happened in that scene seems to be evil, but the butterflies still flew happily in that scene. The contrasting between the evil doings and the beautiful nature in WOLF CREEK and LORD OF THE FLIES both make me question about the governing benevolent power in the universe.

Lastly, WOLF CREEK makes me think about a poem of EMILY DICKINSON.

APPARENTLY WITH NO SURPRISE

Apparently with no surprise,

To any happy flower,

The frost beheads it at its play,

In accidental power.

The blond assassin passes on.

The sun proceeds unmoved,

To measure off another day,

For an approving God.

The story in WOLF CREEK is very different from the story in APPARENTLY WITH NO SURPRISE in many ways, The killing is WOLF CREEK is intentional, not accidental. The killer is WOLF CREEK is ugly, not beautiful like the frost in the poem. But somehow both WOLF CREEK and APPARENTLY WITH NO SURPRISE seem to present "EVIL UNDER THE SUN" and seem to ask IF THE SUN APPROVES OF THIS EVIL.

I think this is what makes WOLF CREEK stands apart from many serial-killer movies, because most movies seem to present evil characters or evil men, but no questioning about the approval of the universe. Moreover, movies about natural disaster which should have asked the same question, don't ask it, because most movies about natural disaster tend to emphasize on the benevolent acts of people or selfless sacrifices which can help humans survive natural disaster.

This is not an analysis of WOLF CREEK anyway. It is just what I feels by watching WOLF CREEK. I think now you know how insane I am. Hahaha.


http://xq28.net/s/viewtopic.php?p=213833#213833

เพิ่งไปซื้อนิตยสาร PORTFOLIO ในเครือ I AM GUY มา และก็กรี๊ดสลบกับนายแบบหนุ่มคนนี้ "กฤตนัย บุญชิต" (ปาล์ม) อายุ 27 ปี สูง 180 CM

http://farm1.static.flickr.com/206/440310440_31855a58a3_o.jpg

Monday, March 26, 2007

FAVORITE ACTRESS OF JAN 2007

COPY FROM T-BOARD

http://xq28.net/s/viewtopic.php?t=11017

เนื่องจากช่วงนี้เจอดาราหญิงที่แสดงได้น่าประทับใจหลายคนมาก ก็เลยขอทำอันดับแต่เนิ่นๆ

FAVORITE ACTRESS IN JANUARY 2007

1.JULIA HUMMER (1980) – GHOSTS (2005, CHRISTIAN PETZOLD, A+)
http://www.imdb.com/name/nm0401872/
http://farm1.static.flickr.com/182/434990308_73f13537c7.jpg
http://farm1.static.flickr.com/188/434990312_b096ceda4d_b.jpg


2.SABINE TIMOTEO (1975) – GHOSTS (2005, CHRISTIAN PETZOLD, A+)
http://www.imdb.com/name/nm0863787/

รูปของเธอใน THE FREE WILL (2006, MATTHIAS GLASNER)
http://www.filmweb.no/bilder/multimedia/archive/00104/Den_frie_vilje__200_104210o.jpg


3.MARIANNE BASLER (1964) -- GHOSTS (2005, CHRISTIAN PETZOLD, A+)
http://www.imdb.com/name/nm0059974/

รูปของ MARIANNE BASLER + ISABEL CARRE
http://www.sacd.fr/actus/enimages/img_g/avignon_basler_carre.jpg


4.ANNA PRUCNAL (1940, POLAND) – SWEET MOVIE (1974, DUSAN MAKAVEJEV, A+)
http://www.imdb.com/name/nm0699147/
http://www.espritfrappeur.ch/LePROGRAMME/ZIMAGES/prucnal012.jpg


5.MARY WORONOV (1943) – EATING RAOUL (1982, PAUL BARTEL, A+)
http://www.imdb.com/name/nm0001862/
http://farm1.static.flickr.com/175/434990320_640fc1983a.jpg



6.FIONA SHAW (1958) – THE BLACK DAHLIA (2006, BRIAN DE PALMA, A+/A)
http://www.imdb.com/name/nm0789716/
http://www.ulster.ac.uk/news/images/xmas04-grad-fiona-shaw.jpg


7.MARCIA BENNETT – THE WOODS (2006, LUCKY MCKEE, A)
http://www.imdb.com/name/nm0071904/
http://farm1.static.flickr.com/156/434990302_7ef0bec77a_o.jpg


8.RIE MIYAZAWA (1973) – THE FACE OF JIZO (2004, KAZUO KUROKI, A+)
http://www.imdb.com/name/nm0594533/
http://images.amazon.com/images/P/B000BX6FWI.01._SS500_SCLZZZZZZZ_V56905578_.jpg


9.CORINNA HARFOUCH (1954) – PERFUME: THE STORY OF A MURDERER (2006, TOM TYKWER, A+)
http://www.imdb.com/name/nm0362896/
http://farm1.static.flickr.com/160/434990304_8cbedd80c3_b.jpg


10.JANE ALEXANDER (1939) – FUR: AN IMAGINARY PORTRAIT OF DIANE ARBUS (2006, STEVEN SHAINBERG, A+)
http://www.imdb.com/name/nm0000737/
http://www.hbo.com/films/warmsprings/img/castandcrew/506x316_jane.jpg

VLADISLAV MAMYCHEV-MONROE

http://farm1.static.flickr.com/185/434940896_761b1fb289_o.jpg
http://farm1.static.flickr.com/174/434940876_cf7bd58123_o.jpg
http://farm1.static.flickr.com/150/434940858_11c2d721f4_o.jpg
http://farm1.static.flickr.com/165/434940856_adbf235fcf_o.jpg
http://farm1.static.flickr.com/169/434940852_8d174fee95_o.jpg
http://farm1.static.flickr.com/178/434940848_25eb8447b8_o.jpg

Sunday, March 25, 2007

GLASNOST CINEMA

http://xq28.net/s/viewtopic.php?t=3437&start=4256

ตอบคุณ FILMSICK

ต้องขอบคุณมากค่ะที่แนะนำหนังของ IGOR ALEINIKOV + GLEB ALEINIKOV ให้ดูกันทาง UBU เมื่อกี้ได้ลองเข้าไปดูหนังเรื่อง TRAKTORA (1987) ของสองพี่น้องคู่นี้แล้ว รู้สึกชอบมากๆในระดับ A+ ถึงแม้หนังเรื่องนี้ไม่มีซับไตเติล และเต็มไปด้วยบทบรรยายภาษารัสเซียก็ตาม
http://www.ubu.com/film/aleinikov.html

TRAKTORA ดูเหมือนเป็นหนัง MOCKUMENTARY โดยทำทีเป็นเหมือนกับว่าตัวเองเป็นหนังสารคดีเกี่ยวกับรถแทรคเตอร์ เนื่องจากดิฉันฟังบทบรรยายในหนังเรื่องนี้ไม่ออก ดิฉันจึงอาจเข้าใจหนังเรื่องนี้ผิดไปบ้าง แต่พอเดาๆเอาเองว่าหนังเรื่องนี้น่าจะแบ่งออกเป็น 4 ช่วงใหญ่ๆได้ดังนี้

1.ช่วงแรกของหนังเป็นสารคดีเกี่ยวกับรถแทรคเตอร์ ที่ใช้เสียงบรรยายแบบเสียงบรรยายมาตรฐานในหนังสารคดี

2.ช่วงที่สอง เสียงบรรยายเริ่มเปลี่ยนไปเหมือนเสียงของคนใกล้ตาย

3.ช่วงที่สาม เสียงบรรยายเปลี่ยนเป็นเสียงของผู้หญิงที่เหมือนเป็นโรคฮิสทีเรีย และตากล้องก็เหมือนกลายเป็นโรคฮิสทีเรียตามเสียงบรรยายไปด้วย

4.ช่วงที่สี่ เหมือนกับเป็นมิวสิควิดีโอเชิดชูชาติโซเวียต


อันนี้เป็นคำบรรยายเกี่ยวกับหนังเรื่องนี้ในเว็บไซท์ UBU

Their films, like Western experimental film in the 60s, deliberately refused to conform to professional standards, and were thus rejected not only officially, but also by many filmmakers. With its dis- mantling of socialist propaganda, Traktora (Tractors) is part of the reassessment of the past in found footage that took place in the 90s. The voiceover, which grows in intensity from objective description to individual obsession, highlights the emerging individualization of the gaze as opposed to the collective ideology.


อันนี้เป็นคำบรรยายเกี่ยวกับ TRACTORS จากอีกเว็บไซท์
http://www.emaf.de/1990/sowpar_e.html

In 1980 the power of the Soviet tractor engines amounted to 497 million horse power. Who is to be surprised that this industrial achievement induced the most important methaphor. The tractor is being associated with earth and people. "The myth that the drivers of tractors possess an extraordinary potency arises among female persons" (film text). What do female drivers of tractors think about it in the country of the functional emancipation?

หนังสือ THE ZERO HOUR: GLASTNOST AND SOVIET CINEMA IN TRANSITION (1992) ของ ANDREW HORTON + MICHAEL BRASHINSKY ก็กล่าวถึงหนังเรื่อง TRAKTORA หรือ TRACTORS ไว้ด้วยเช่นกัน โดยระบุว่าหนังเรื่องนี้เป็นหนังขาวดำความยาวครึ่งชั่วโมงที่ผลิตโดยสองพี่น้องแห่งมอสโคว์คู่นี้ โดยเป็นการนำฟิล์มข่าวเก่าๆมาผสมกับฟิล์มที่สองพี่น้องคู่นี้ถ่ายเอง และหนังเรื่องนี้เป็นการล้อเลียนหนังเพื่อการศึกษา (EDUCATIONAL FILM) ในยุคสตาลิน โดยล้อเลียนสิ่งที่ถือว่าศักดิ์สิทธิ์ที่สุดในกระบวนการผลิต ซึ่งก็คือรถแทรคเตอร์

เสียงบรรยายของผู้หญิงในช่วงหลังของหนังเรื่องนี้ รวมถึงประโยคที่ว่า “รถแทรคเตอร์สามารถนำมาใช้ประโยชน์ได้ต่างๆกันไป ประชาชนรักรถแทรคเตอร์และเรียกรถนี้ว่าม้าเหล็ก”

ทันใดนั้นเอง หนังสารคดีเรื่องนี้ก็หลุดออกจากความเป็นหนังสารคดี และกล้องก็เริ่มหมุนควงอย่างรุนแรงและโฟกัสไปที่รายละเอียดต่างๆที่ไม่มีความสำคัญ ขณะที่เสียงของสาวผู้บรรยายก็เปลี่ยนไปเป็นเสียงที่เหมือนกับคนบ้า โดยเธอกรีดเสียงว่า “คุณรู้สึกได้ถึงความตายรอบๆตัวคุณ” ขณะที่กล้องทำผลิกผันไปมาและเปลี่ยนกลับมาจ้องมองลานโล่งกว้างที่แล้งไร้ไปจนถึงเส้นขอบฟ้า

ผู้บรรยายสาวยังคงบรรยายต่อไปว่า “เลือดของคุณร้องกรี๊ด หัวของคุณมึนชา” และหลังจากนั้นผู้บรรรยายสาวก็ร้องไห้และร้องกรี๊ดขณะที่ภาพบนจอเลือนไปเป็นสีขาว

“THERE IS ONLY ME AND THE TRACTOR” ผู้บรรยายสาวกล่าว ขณะที่หนังเข้าสู่ช่วงสุดท้าย เมื่อมีเสียงเพลงคอมมิวนิสต์รักชาติแบบเสียดสีดังขึ้นมา และมีรูปปั้นของเลนินปรากฏอยู่บนจอ

หนังเรื่อง TRACTORS นี้เป็นตัวอย่างที่ดีอันหนึ่งของหนังกลุ่ม PARALLEL CINEMA ซึ่งเป็นกลุ่มหนังแปลกๆที่ถือกำเนิดขึ้นในโซเวียตในช่วงปลายทศวรรษ 1980 โดยมีสองพี่น้อง ALEINIKOV เป็นผู้นำในกลุ่มนี้ นอกจากนี้ หนังกลุ่ม PARALLEL CINEMA นี้ยังอาจถือได้ว่าเป็นส่วนหนึ่งของหนังยุค GLASTNOST และ PERESTROIKA ของโซเวียตในปลายทศวรรษ 1980 ด้วย ซึ่งเป็นยุคที่ผู้กำกับชาวโซเวียตสามารถทำหนังล้อเลียนค่านิยมในยุคเดิมๆได้ หรือสามารถสะท้อนด้านลบของสังคมโซเวียตได้

ดิฉันไม่รู้อะไรมากนักเกี่ยวกับนโยบาย GLASTNOST และ PERESTROIKA ที่ประธานาธิบดีมิคาอิล กอร์บาชอฟของโซเวียตนำมาใช้ในเดือนเม.ย.ปี 1985 ข้อมูลในหนังสือ THE ZERO HOUR บอกว่า GLASTNOST = OPENNESS ส่วน PERESTROIKA = RESTRUCTURING โดย GLASTNOST นั้นเป็นสิ่งที่ทำได้ง่าย เพราะมันคือการเปิดรับความคิดเห็น, การแสดงออก และข้อมูล GLASTNOST นำมาซึ่งแนวคิด และไม่เกี่ยวข้องกับ MATERIAL PRODUCT แต่ PERESTROIKA เป็นสิ่งที่ทำให้เกิดขึ้นจริงได้ยากกว่า และอุตสาหกรรมภาพยนตร์ก็ถือว่าเป็นสนามรบสำคัญของ GLASTNOST และเป็นพื้นที่ทางการผลิตพื้นที่หนึ่งสำหรับกระบวนการ PERESTROIKA

นิตยสาร FILM COMMENT เล่มเดือน JAN/FEB 2007 มีบทความเกี่ยวกับหนังกลุ่ม PARALLEL CINEMA ของโซเวียตด้วย โดยเป็นบทความของ OLAF MOELLER

บทความนี้ระบุว่า ผู้กำกับคนสำคัญในกลุ่มนี้รวมถึง

1.สองพี่น้อง ALEINIKOV ซึ่งเข้าสู่วงการภาพยนตร์ด้วยการผลิตนิตยสารทำมือเกี่ยวกับภาพยนตร์ที่มีชื่อว่า CINE FANTOM

2.BORIS YUKHANANOV ซึ่งอยู่ในมอสโคว์เหมือนกัน

3.YEVGENY YUFIT AND THE NECROREALISTS ในเมือง LENINGRAD ที่ต่อมาเปลี่ยนกลับมาใช้ชื่อเมือง ST. PETERSBURGH หลังโซเวียตล่มสลาย

ชอบคำว่า NECROREALISTS มาก เพราะ NECRO = ศพ


ผู้กำกับเหล่านี้ไม่รู้จักกันในตอนแรก พวกเขาทำหนังแปลกๆเหมือนกัน แต่ไม่รู้จักกัน แต่พวกเขามารวมตัวกันเป็นกลุ่ม PARALLEL CINEMA ได้เพราะผู้ชมของพวกเขาเล่าถึงหนังของอีกคนหนึ่งให้พวกเขาฟัง

CINE FANTOM ได้ขยับขยายจากการเป็นนิตยสารทำมือ มาเป็นผู้จัดเทศกาลภาพยนตร์ และผู้จัดฉายภาพยนตร์ในเวลาต่อมา พวกเขาได้รับประโยชน์จากนโยบาย PERESTROIKA ซึ่งเปิดโอกาสให้ชาวโซเวียตได้สำรวจแนวคิดและสุนทรียะในรูปแบบใหม่ๆ

อย่างไรก็ดี IGOR ALEINIKOV เสียชีวิตในปี 1994 จากเหตุการณ์เครื่องบินตก และสมาชิกแต่ละคนในกลุ่มก็เริ่มหันไปร่วมงานกับสตูดิโอใหญ่ๆ และไม่ได้ทำตัวเป็น “เส้นขนาน” กับสตูดิโอใหญ่เหมือนอย่างในอดีตอีก

CINE FANTOM เริ่มกลับมาได้รับความสนใจอีกครั้งในช่วงไม่กี่ปีที่ผ่านมา โดยได้รับทุนสนับสนุนจากวงการโทรทัศน์รัสเซีย และมีสมาชิกใหม่ๆมาเข้าร่วมกลุ่ม อย่างเช่น

4.ALEXANDER DOULERAIN

5.YURI LEIDERMAN

6.ANDREY SILVESTROV

7.PETER KHAZIZOV

หนังที่น่าสนใจในกลุ่มนี้หลายเรื่องดูได้จากเว็บไซท์ UBU และรวมถึงหนังดังต่อไปนี้

1.CRAZY PRINCE FASSBINDER (1989, BORIS YUKHANANOV)
หนังความยาว 44 นาทีเรื่องนี้เป็น MOCKUMENTARY ที่ให้นักแสดงโซเวียตมาพูดจาเชิดชูฟาสบินเดอร์ และพูดถึงเรื่องราวที่ไม่จริงต่างๆเกี่ยวกับฟาสบินเดอร์


2.TRACTOR DRIVERS 2 (1989, IGOR ALEINIKOV + GLEB ALEINIKOV)
หนังเรื่องนี้เป็นการรีเมคหนังเรื่อง TRACTOR DRIVERS (1939, IVAN PYRIEV)

3.BIPEDALISM (2005, YEVGENY YUFIT)
หนังเรื่องนี้มีเนื้อหาเกี่ยวกับศิลปินคนหนึ่งและภรรยา ที่ได้รับรางวัลจากรัฐบาลเป็นกระท่อมในชนบท แต่พอพวกเขาเข้าไปอยู่ในกระท่อมนี้ พวกเขาก็ได้ค้นพบหัวกะโหลก, ซากศพ และความจริงเกี่ยวกับการทดลองอันพิลึกพิลั่นทางวิทยาศาสตร์ของโซเวียตในทศวรรษ 1930 เกี่ยวกับทฤษฎีวิวัฒนาการ

สิ่งที่น่าตกใจก็คือว่าผู้รอดชีวิตจากการทดลองดังกล่าวยังคงมีชีวิตอยู่ในสภาพของซอมบี้ และบางคนก็หนีรอดออกจากที่คุมขังมาได้และกลายเป็นอันตรายที่น่าสะพรึงกลัว ทางด้านศิลปินคนนี้ก็เริ่มเข้าไปมีส่วนเกี่ยวข้องกับการทดลองอันพิลึกพิลั่นมากขึ้นเรื่อยๆ เพราะเขาค้นพบความจริงว่าพ่อของเขาอาจเคยมีส่วนร่วมในการทดลองนี้

อย่างไรก็ดี เนื้อหาส่วนใหญ่ของ BIPEDALISM เกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างศิลปินคนนี้กับภรรยา โดยหนังเน้นปัญหาความสัมพันธ์อันเข้มข้นพอๆกับหนังของ INGMAR BERGMAN

อ่านเพิ่มเติมเกี่ยวกับ BIPEDALISM ได้ที่
http://context.themoscowtimes.com/stories/2005/07/15/110.html


4.MANGA (2005, PETER KHAZIZOV)


5.VOLGA-VOLGA (2006, PAVAL LABAZOV + ANDREY SILVESTROV + VLADISLAV MAMYSHEV-MONROE)

หนังเรื่องนี้เป็นการรีเมคหนังเรื่อง VOLGA-VOLGA (1938, GRIGORI ALEKSANDROV) โดยเป็นการรีเมคที่ประหลาดมาก เพราะเป็นการนำหนังเก่ามาทำดนตรีประกอบใหม่ โดยนำเสียงกีตาร์ไฟฟ้ามาใช้แทนดนตรีบาลาไลก้า และมีการนำภาพศีรษะของ VLADISLAV MAMYSHEV-MONROE ซึ่งเป็นผู้ชาย มาทับลงบนศีรษะของ LYUBOV ORLOVA ซึ่งเป็นนางเอกของ VOLGA-VOLGA เวอร์ชันดั้งเดิม (คิดไอเดียนี้ขึ้นมาได้อย่างไร)

อ่านเพิ่มเติมเกี่ยวกับ VOLGA-VOLGA (2006) ได้ที่
http://context.themoscowtimes.com/story/166526/

ภาพของ VOLGA-VOLGA เวอร์ชันเก่า
http://farm1.static.flickr.com/185/433362699_84a14b33c5_b.jpg
http://farm1.static.flickr.com/162/433362697_c6e3b808d5_b.jpg

อ่านเพิ่มเติมเกี่ยวกับ LYUBOV ORLOVA ได้ที่
http://www.sensesofcinema.com/contents/02/23/orlova.html
http://www.geocities.com/rusatg/orlova/index_engl.html

อันนี้เป็นรูปของ VLADISLAV MAMYSHEV-MONROE ดิฉันคิดว่าเธอคือคู่แข่งที่น่ากลัวที่สุดคนหนึ่งของ MICHAEL SHAOWANASAI
http://www.mdf.ru/i/photo/003/3421.jpg
http://www.mdf.ru/i/photo/003/3416.jpg
http://www.mdf.ru/i/photo/003/3422.jpg
http://www.mdf.ru/i/photo/003/3417.jpg
http://www.mdf.ru/i/photo/003/3412.jpg

อ่านเพิ่มเติมเกี่ยวกับหนังรัสเซียยุคปัจจุบันได้ใน BIOSCOPE เล่ม 59 ต.ค. 2549 หน้าปก THE DEPARTED

--นอกจาก PARALLEL CINEMA แล้ว หนังกลุ่มย่อยที่สำคัญอีกกลุ่มหนึ่งใน GLASNOST CINEMA ก็คือหนังกลุ่ม ZIGZAG CINEMA หรือหนังกลุ่ม KAZAKH NEW WAVE จากคาซัคสถาน

การที่หนังคาซัคสถานกลุ่มนี้ตั้งชื่อว่า ZIGZAG CINEMA เป็นเพราะว่าผู้กำกับในกลุ่มนี้มักจะทำงานร่วมกับสตูดิโอใหญ่เป็นครั้งคราวอยู่แล้ว ไม่ได้อยู่นอกระบบสตูดิโออย่างเต็มตัวในช่วงแรกเหมือนหนังกลุ่ม PARALLEL CINEMA

ผู้กำกับภาพยนตร์กลุ่ม ZIGZAG CINEMA หรือกลุ่ม KAZAKH NEW WAVE นี้ก็มีเช่น

1.RASHID NUGMANOV ซึ่งกำกับ THE NEEDLE (1988)

2.ALEXANDER BARANOV

3.BAKHYT KILIBAYEV

4.ABAI KARPIKOV

5.SERIK APRYMOV
รู้สึกว่าคุณสนธยา ทรัพย์เย็นจะชอบผู้กำกับคนนี้

หนังน่าสนใจในกลุ่มนี้ก็คือ LITTLE FISH IN LOVE (1989, ABAI KAPRIKOV) ที่ออกมาในแนว WIM WENDERS + JIM JARMUSCH โดยหนังเรื่องนี้มีเนื้อหาเกี่ยวกับชายหนุ่มคนหนึ่งที่ไม่พูดไม่จา และมักจะจ้องมองปลาในตู้ปลาของเพื่อนเป็นประจำ ชายหนุ่มคนนี้ไม่ทำงานทำการอะไร และไม่ทำกิจกรรมอะไรเลยในหนังเรื่องนี้ เขาเดินไปเรื่อยๆเพื่อค้นหาบางสิ่งบางอย่างที่เขาเองก็ไม่รู้ว่ามันคืออะไร

นักวิจารณ์ภาพยนตร์ระบุว่า LITTLE FISH IN LOVE ประสบความสำเร็จอย่างมากในการถ่ายทอดบรรยากาศของเมืองที่อยู่ในภาวะ “หลับลึก และฝันถึงช่วงเวลาที่น่าจะดีกว่านี้”

อ่านเพิ่มเติมเกี่ยวกับ JIM JARMUSCH ได้ในหนังสือ FILMVIRUS 5

นอกจาก PARALLEL CINEMA และ ZIGZAG CINEMA แล้ว หนังในกลุ่ม GLASNOST CINEMA หรือหนังโซเวียตที่น่าสนใจในช่วงนั้น ยังรวมถึง

1.THE NAME DAY (1980, SERGEI SELYANOV + NIKOLAI MAKAROV)
http://movies2.nytimes.com/gst/movies/movie.html?v_id=169207

หนังเรื่องนี้มีเนื้อหาเกี่ยวกับคนในบ้านเก่าๆหลังใหญ่หลังหนึ่ง โดยมีตำรวจคนหนึ่งปีนต้นไม้ในสนามขึ้นไปเพื่อคอยจับตาดูพฤติกรรมของคนในบ้านหลังนี้ และตำรวจคนนี้ก็ไม่ยอมลงจากต้นไม้ถึงแม้ว่าต้นไม้กำลังไหม้ไฟ

This black and white political allegory set in Soviet Russia was filmed in 1980, and first saw the light of day at the 1989 Locarno Film Festival. The events taking place in a huge, ramshackle old house are told as seen by one of its none-too-bright residents. Of particular ironic bite is the tale of the policeman who climbs a tree in the yard in order to keep watch over the residents, who never leaves the tree even when, at the end of the film, it is burning. This uneven film is based on an unpublished novel by the screenwriter, Mikhail Konvaltchuk. ~ Clarke Fountain, All Movie Guide


2.A LIFE WITHOUT (1987, MARK SOOSAAR, ESTONIA)

หนังเรื่องนี้มีฉากเด็ดฉากหนึ่งที่ให้หญิงวัยกลางคนคนหนึ่งที่มีหน้าตาธรรมดา ทำงานในครัวที่คับแคบ หนังเรื่องนี้บันทึกภาพการทำอาหารเช้าของเธออย่างละเอียด โดยเธอทำอาหารเช้าให้ตัวเองกิน เธอปาดเนยลงบนขนมปัง, เธอรินนมใส่แก้ว, เธอเอาเทปเพลงมาฟัง

ฉากนี้เป็นฉากที่ธรรมดาที่สุดและไม่มีเหตการณ์สำคัญเกิดขึ้นแต่อย่างใด และหญิงคนนี้ก็แทบไม่แสดงอารมณ์ออกมาเลย แต่ในเวลาต่อมา หญิงคนนี้ก็เริ่มกลั้นน้ำตาไว้ไม่อยู่ เธอค่อยๆร้องไห้ และในที่สุดเธอก็ร้องไห้อย่างรุนแรงจนควบคุมตัวเองไว้ไม่ได้อีกต่อไป เพราะลูกชายของเธอเพิ่งฆ่าตัวตาย และเขาฆ่าตัวตายเพราะแม่ของเขาด่าว่าเขาและแฟนสาวของเขา

หนังเรื่อง A LIFE WITHOUT เป็นหนังสารคดี


3.THE MAN FROM CAPUCHINS BOULEVARD (1987, ALLA SURIKOVA)
http://www.imdb.com/title/tt0092745/usercomments

หนังเรื่องนี้กำกับโดยผู้หญิง และเป็นหนัง “คาวบอยรัสเซีย” !!!!!

The plot goes here. The very beginning of the 20th century. Wild West. A cinema devotee - Mr First - comes to an American town where everybody drinks, fights, and swears. Mr First introduces the world of black-and-white cinema to the cowboys and the life changes. All the good movies he shows them have a direct effect on their living. The population of the town stops all the drinking, fighting, etc. The people start to respect each other and to behave in a good manner. Mr First leaves the town for some time. During his absence some freak comes to town - Mr Second - who is also a cinema devotee, but he is into some nasty types of movies. As a result of watching those "nasties" the people turn into violent morons again.


4.SIZ KIM SIZ หรือ WHO ARE YOU (1989, DZHAHONGIR FAIZIEV, UZBEKISTAN)
หนังเรื่องนี้เป็นหนังแนว ROAD MOVIE ที่ให้คนขับรถคนหนึ่งที่เป็นหมอ มาเจอกับนักโบกรถคนหนึ่งที่เป็นอาจารย์มหาวิทยาลัย แต่ขณะที่ทั้งสองขับรถไปด้วยกัน ทั้งสองก็พบกับตำรวจจราจรที่บอกให้ทั้งสองหยุดรถ

อย่างไรก็ดี หนึ่งในสองคนนี้เป็นสายลับเคจีบีของโซเวียตที่ต้องการจะแก้แค้นตำรวจที่เขาเจอในระหว่างทาง และหลังจากนั้นทั้งสองก็ถูกส่งตัวไปยังสำนักงานราชการต่างๆหลายสำนักงาน และในที่สุดเรื่องก็เฉลยว่าที่จริงแล้วทั้งสองคนนี้ต่างก็เป็นเคจีบีที่คนหนึ่งมียศสูงกว่าอีกคนหนึ่ง


5.INTERGIRL (1989, PYOTR TODOROVSKY)

หนังเกี่ยวกับพยาบาลสาวที่หันมาเป็นโสเภณี
http://www.imdb.com/title/tt0097584/plotsummary

Tatiana is a beautiful Russian nurse who is underpaid at her hospital job, so she turns a prostitute catering to international tourists. She becomes well paid in dollars, and helps her ailing mother to survive. Tatiana's international clients enlighten her about the life in other countries, so she accepts a marriage in order to escape from the grim Soviet reality. But even being married to a decent man abroad, she still suffers from being labeled as an ex-Soviet prostitute, and her new life is full of new troubles.


--เป็นที่น่าสังเกตว่า มีนักทำนิตยสารภาพยนตร์หลายกลุ่มที่กลายเป็นผู้กำกับภาพยนตร์คุณภาพในเวลาต่อมา อย่างเช่น

1.ผู้ทำนิตยสาร CINE FANTOM ที่กลายมาเป็นผู้กำกับกลุ่ม PARALLEL CINEMA

2.นักวิจารณ์ในนิตยสาร CAHIERS DU CINEMA ที่ต่อมาได้หันมากำกับหนัง

ดูรายชื่อผู้กำกับกลุ่มนี้ได้ที่บล็อกของคุณ harrytuttle ที่
http://screenville.blogspot.com/2006/07/criticismcreation-mixity-at-cahiers.html

3.นักวิจารณ์ของนิตยสาร REVOLVER ของเยอรมนี ที่ต่อมาได้หันมากำกับภาพยนตร์ อย่างเช่น

3.1 SEBASTIAN KUTZLI ผู้กำกับ DREILAND (1998), ALLES ZOMBIES (2001), KALTE HAUT (2005)

3.2 BENJAMIN HEISENBERG ผู้กำกับ AT THE LAKE (2001) และ SLEEPER (2005)

เรื่องย่อของ SLEEPER
Johannes, a new assistant at the university, is asked to provide reports on an Algerian colleague - who is suspected of being a sleeper. He refuses, but the seed of doubt has been planted. A fragile friendship which is overshadowed by professional and emotional competition eventually leads to betrayal.


3.3 CHRISTOPH HOCHHAUSLER ผู้กำกับหนังเกย์เรื่อง I AM GUILTY (2005)

I AM GUILTY มีเนื้อหาเกี่ยวกับเด็กหนุ่มที่รู้สึกว่าตัวเองไม่ได้รับความสนใจจากผู้คนรอบข้าง และเขาก็ใช้เวลาว่างไปกับการจินตนาการว่าเขาได้มีเพศสัมพันธ์กับกลุ่มหนุ่มๆนักขับรถมอเตอร์ไซค์ และในเวลาต่อมา เด็กหนุ่มคนนี้ก็ประกาศว่าเขาเป็นคนก่ออาชญากรรม ทั้งๆที่เขาไม่ได้เป็นคนก่อ เพราะเขามีจุดประสงค์ที่จะให้ตัวเองไม่ต้องอยู่ในสถานะของ “มนุษย์ล่องหน” อีกต่อไป

http://ec1.images-amazon.com/images/P/B000GTLQU8.01._SS500_SCLZZZZZZZ_.jpg


อ่านบทสัมภาษณ์ CHRISTOPH HOCHHAUSLER ได้ที่
http://www.sensesofcinema.com/contents/07/42/christoph-hochhausler.html

นักวิจารณ์/ผู้กำกับภาพยนตร์กลุ่มนี้มักจะรวมตัวพูดคุยกับผู้กำกับชั้นแถวหน้าคนอื่นๆของเยอรมันและออสเตรียด้วยเช่นกัน โดยผู้กำกับในกลุ่มของเขารวมถึง

3.4 HENNER WINCKLER ผู้กำกับ SCHOOL TRIP (A+++++++++++++++) ที่เคยมาเปิดฉายที่สถาบันเกอเธ่ ซ.สาทรหนึ่ง

3.5 ULRICH KOEHLER ผู้กำกับ BUNGALOW ที่เน้นโชว์เรือนร่างของหนุ่มๆ และเป็นหนังในดวงใจของคุณ BLACK FORESTS
http://www.blackforests.blogspot.com

3.6 SOEREN VOIGT ผู้กำกับ THE PERFECT SITE (2000) และ IDENTITY KILLS (2003)
http://www.luebeck.de/filmtage/03/program/filme/images/identitw.jpg
http://www.fdk-berlin.de/forumarchiv/forum2003/filme/bild/identity_kills01.jpg

3.7 JESSICA HAUSNER ที่คนไทยรู้จักกันดีจาก LOVELY RITA และ HOTEL

3.8 VALESKA GRISEBACH ที่เข้ามาอยู่ในกลุ่มนี้ได้เพราะ JESSICA HAUSNER เป็นคนพาเข้ามา หนังของเธอถูกจัดอยู่ในกลุ่ม TENDER REALISM

3.9 MAREN ADE ผู้กำกับ THE FOREST FOR THE TREES (2003) หนังของเธอถูกจัดอยู่ในกลุ่ม TENDER REALISM
http://www.stoningtonfilmsociety.com/images/theforestforthetrees.jpg

3.10 ELKE HAUCK ผู้กำกับ FLUEGGE (2001) หนังของเธอถูกจัดอยู่ในกลุ่ม TENDER REALISM

อย่างไรก็ดี ถึงแม้ผู้กำกับเยอรมันกลุ่มนี้จะชอบสังสรรค์กันเอง แต่พวกเขาก็ไม่ชอบให้คนมาเรียกเหมารวมพวกเขาภายใต้ชื่อกลุ่มเดียวกันแต่อย่างใด

THERE, THERE (NAWAPOL THAMRONGRATTANARIT, A+)

http://riverdale-dreams.blogspot.com/2007/03/memento.html

ตอบคุณ OLIVER

ชอบที่คุณ OLIVER พูดถึงหนังฟิล์มนัวร์ 3 แนวมากเลยค่ะ ที่แยกเป็นแนว RAYMOND CHANDLER, JAMES M. CAIN และ CORNELL WOOLRICH

ตอนเด็กๆดิฉันจำได้ว่าดูหนังฟิล์มนัวร์แล้วไม่ค่อยชอบเท่าไหร่ รู้สึกว่า IDENTIFY กับหนังได้ยากมาก แต่ยิ่งโตขึ้นมากเท่าไหร่ ก็ยิ่งรู้สึก IDENTIFY ตัวเองกับหนังฟิล์มนัวร์มากเท่านั้น

เมื่อเร็วๆนี้เห็นมีหนังสือเกี่ยวกับหนังยุโรปแนว FILM NOIR วางขายในไทย ก็เลยทำให้สนใจว่ามีหนังยุโรปเรื่องไหนบ้างที่มีลักษณะแบบ FILM NOIR พอลองค้นดูทางเน็ตก็เลยเจอเว็บไซท์นี้เข้า

http://www.greencine.com/list?action=viewList&listID=6547

จากที่ดูในรายชื่อนี้ ก็เลยทำให้เห็นว่า ผู้กำกับที่ทำหนังเข้าใกล้ FILM NOIR ในยุโรปที่เด่นๆ ก็น่าจะมี

1.HENRI-GEORGES CLOUZOT

2.CLAUDE CHABROL

3.JEAN-PIERRE MELVILLE

4.JACQUES BECKER

ตอนนี้กำลังนึกอยู่ว่ามีหนัง FILM NOIR เรื่องไหนบ้างที่มีผู้ชายทำหน้าที่แบบ HOMME FATALE แต่ยังนึกไม่ออก



ตอบน้อง merveillesxx

--ได้เข้าไปดู RABBIT (2005, RUN WRAKE, A+++++) ที่น้องทำลิงค์เอาไว้ให้แล้วค่ะ สุดยอดมากๆ หนังทั้งสวยและทรามในเวลาเดียวกัน
http://www.youtube.com/watch?v=A4Yf-7Z_6PE

--ดู UN CHIEN ANDALOU หลายรอบแล้วก็งงๆเหมือนกันค่ะ แต่โชคดีที่รอบล่าสุดดูพร้อมกับคุณ FILMSICK + เก้าอี้มีพนักที่ห้องสมุดธรรมศาสตร์ การได้คุยกับสองคนนี้ทำให้พบว่าตัวเองยังดูไม่ทันในหลายๆฉาก รู้สึกดีใจมากที่การได้คุยกับเพื่อนๆทำให้เข้าใจหนังหลายๆเรื่องมากขึ้น

--บทความของ JEAN-CLAUDE CARRIERE ในหนังสือ FILMVIRUS 2 มีพูดถึง THE DISCREET CHARM OF THE BOURGEOISIE (1972, LUIS BUNUEL, A+) ด้วยค่ะ ถ้าจำไม่ผิด CARRIERE รู้สึกฮาๆที่ผู้ชมหลายคนพยายามตีความฉากเดินใน THE DISCREET CHARM OF THE BOURGEOISIE ว่าหมายความอย่างโน้นอย่างนี้ ทั้งที่จริงๆแล้ว LUIS BUNUEL ไม่ได้ต้องการสื่อความหมายอะไร (JEAN-CLAUDE CARRIERE เป็นคนเขียนบทหนังเรื่องนี้เอง)

--พูดถึงศิลปินแนวเซอร์เรียลแล้ว ก็นึกถึงจิตรกรอีกคนนึงที่ดิฉันเพิ่งรู้จัก นั่นก็คือ MAX ERNST ที่ดิฉันเพิ่งรู้จักเขาก็เพราะว่าทางห้องสมุดธรรมศาสตร์เพิ่งนำหนังเรื่อง MAX ERNST: JOURNEY INTO THE SUBCONSCIOUS (1991, PETER SCHAMONI, A) มาฉาย
http://www.imdb.com/title/tt0102419/

หลังจากดูหนังเรื่องนี้แล้ว ดิฉันลองไปเซิร์ชดูภาพของ MAX ERNST ก็รู้สึกว่าเขาวาดภาพได้สวยมากจริงๆ

ผลงานของ MAX ERNST

THE GRAMINACEAOUS BICYCLE (1921)
http://www.madsci.org/~lynn/juju/surr/images/ernst/gmbicycle.jpg

ABOVE THE CLOUDS MIDNIGHT PASSES (1920)
http://www.madsci.org/~lynn/juju/surr/images/ernst/midnight_clouds.jpg

UBU IMPERATOR (1923-1924)
http://www.madsci.org/~lynn/juju/surr/images/ernst/ubu.jpg

THE TEMPTATION OF ST. ANTHONY (1945)
http://www.eyeconart.net/history/Surrealism/ErnstTempStAnt2.jpg

EUCLID (1945)
http://www.stefanmart.de/03_dilldapp/030z_ernst_1.jpg



หนังที่ได้ดูเมื่อวานนี้

1.THERE, THERE (2005, NAWAPOL THAMRONGRATTANARIT, A+)

ชอบหนังแบบนี้มากๆ ที่หนังนำเสนอภาพอย่างหนึ่ง และมีการใช้ TEXT ที่ทำให้ผู้ชมเกิดภาพอีกอย่างขึ้นในหัวสมอง ดิฉันรู้สึกว่าวิธีการแบบนี้ใกล้เคียงกับวิธีการใน INDIA SONG (MARGUERITE DURAS) เพียงแต่ว่า DURAS ใช้เสียงบรรยายที่ทำให้ผู้ชมเกิดภาพอีกอย่างขึ้นในหัวสมอง

ดิฉันชอบหนังที่ทำให้ “ตาเนื้อ” ของผู้ชมเห็นภาพอย่างหนึ่ง และ “ตาจิต” ของผู้ชมเห็นภาพอีกอย่างหนึ่ง ทั้งโดยที่ผู้กำกับอาจจะตั้งใจหรือไม่ตั้งใจ เพราะส่วนใหญ่แล้ว หนังที่ทำให้ “ตาเนื้อ” กับ “ตาจิต” ของดิฉัน เห็นภาพไม่เหมือนกันในเวลาเดียวกัน มักจะให้ประสบการณ์ที่ทำให้ดิฉันมีความสุขมากๆ

รู้สึกสนุกมากๆกับหนังเรื่องนี้ เพราะในขณะที่ “ตาเนื้อ” ของผู้ชมอาจจะยังคงเห็นชายหนุ่มนั่งรำคาญการบ้านบนโต๊ะ แต่ “ตาจิต” ของผู้ชมได้บังเกิดภาพต่างๆ มากมาย ทั้งภาพการเข้าแถวกินก๋วยเตี๋ยว, การด่าทอกับเจ้าหน้าที่ในโรงอาหาร, การได้พบกับพนักงานสาวในร้านขายของ

หนังที่ทำให้ดิฉันเกิดปฏิกิริยาแบบนี้นั้น นอกจาก THERE, THERE แล้ว ยังรวมถึง

1.1 INDIA SONG (1975, MARGUERITE DURAS, A+)
หนังเรื่องนี้ใช้เสียงบรรยายที่ไม่เข้ากับภาพในบางช่วง ช่วงที่ชอบมากที่สุดช่วงนึงคือช่วงที่ผู้ชมเห็น ANNE-MARIE STRETTER กับชายหนุ่ม 4-5 คนโพสท์ท่ากันเป็นเวลายาวนานมากๆ แต่เสียงที่ผู้ชมได้ยินกลับเป็นเสียงคนพูดคุยกันเกี่ยวกับการเดินทางไปยังเกาะในทะเล

หนังสารคดีเกี่ยวกับ INDIA SONG ที่มาฉายที่ห้องสมุดธรรมศาสตร์ ก็หยิบประเด็นนี้ขึ้นมาพูดถึงได้อย่างน่าประทับใจที่สุด เพราะหนังเรื่อง INDIA SONG และอาจจะรวมไปถึง THERE THERE แสดงให้เห็นถึง THE COLOR OF WORDS หรือ THE POWER OF WORDS โดยหนังสารคดีเรื่องนี้ยกตัวอย่างฉากหนึ่งใน INDIA SONG ที่ผู้ชมเห็น ANNE-MARIE STRETTER มองออกนอกหน้าต่าง โดยการจัดแสงในฉากนั้นรุนแรงมาก เพราะแสงฉายไปที่ใบหน้าของ ANNE-MARIE และฉากหลัง จนทำให้ภาพนั้นดูขาวโพลนมากๆ และผู้ชมได้เห็นแต่เพียงสีขาวเกือบจะเพียงสีเดียวในฉากนั้น

แต่เสียงบรรยายในฉากนั้นกลับพูดว่า “เธอมองเห็นดอกไม้สีม่วง”

และวินาทีนั้นเอง ที่ “ตาจิต” ของผู้ชมเห็น “สีม่วง” แต่ตาเนื้อของผู้ชมเห็นเพียง “สีขาวโพลน” และนั่นเป็นวินาทีที่ให้ความรู้สึกสุดยอดมากๆในการชมภาพยนตร์ของดิฉัน


1.2 DIVINE INTERVENTION (2002, ELIA SULEIMAN, A+)
เคยเขียนถึงประเด็นนี้ไว้แล้วใน
http://celinejulie.blogspot.com/2004/11/divine-intervention.html


1.3 MIXED UP (1999, NADIA FARES, A+)
ฉากที่ชอบมากในหนังเรื่องนี้คือฉากที่ผู้กำกับถ่ายคุณยายหรือคุณย่าของเธอ แต่เสียงบรรยายพูดถึงการเดินลงทะเลไปเรื่อยๆ และฉากที่ผู้กำกับถ่ายอะไรสักอย่าง แต่เสียงบรรยายบอกว่า “สักวันหนึ่ง เท้าข้างหนึ่งของฉันจะยืนเหยียบบนเทือกเขาแอลป์ และเท้าอีกข้างหนึ่งของฉันจะยืนเหยียบอยู่บนลุ่มแม่น้ำไนล์”


1.4 TEN TINY LOVE STORIES (2001, RODRIGO GARCIA, A+)
หนังที่ให้ดาราหญิงสิบคนมาพูดถึงประสบการณ์ของตัวเอง

1.5 NINJA BUGEI-CHO (1967, NAGISA OSHIMA, A+)
หนังที่ถ่ายหน้าหนังสือการ์ตูนไปเรื่อยๆ โดยที่ภาพในหนังสือการ์ตูนไม่เคลื่อนไหว แต่ภาพในหัวของดิฉันเคลื่อนไหวอย่างรุนแรงมาก



2.DIFFERENT DEGREE (2006, MONCHAI CHATBAMRUNGSUK, A+)

3.SEE (2006, NAWAPOL THAMRONGRATTANARIT, A+)

4.MASSAGE (2006, THAWATPONG TANGSAJJAPOJ, A+)

5.12 NOV (2006, MONCHAI CHATBAMRUNGSUK, A+/A)

6.TRUE NATURE (2002, THAWATPONG TANGSAJJAPOJ, A+/A)
ถ้าผู้กำกับไม่เล่าเรื่องในตอนหลัง ดิฉันก็คงไม่รู้เลยแม้แต่นิดเดียวว่าหนังเรื่องนี้เกี่ยวกับอะไร เพราะดูไม่ทัน แต่รู้สึกว่าหนังสวยมาก

7.MY SHRUNK HOUSE (2004, NAWAPOL THAMRONGRATTANARIT, A)
ไม่ค่อยชอบตอนจบเท่าไหร่ เพราะตอนแรกนึกว่าหนังเรื่องนี้จะออกมาเป็นแนว REPULSION ฮ่าๆๆๆๆ

8.NANA 2 (2006, KENTARO OTANI, A)
ชอบมากกว่าภาคแรก และรู้สึกหมั่นไส้ยัยนานะเพ้อ (ยืมสำนวนน้อง merveillessxx) น้อยลงมาก

9.SATHORN (2006, MONCHAI CHATBAMRUNGSUK, A)

10.BANGKOK TANK (2006, NAWAPOL THAMRONGRATTANARIT, A)

11.OUR CHILD (2003, THAWATPONG TANGSAJJAPOJ, A)

12.ISLAND (2001, THAWATPONG TANGSAJJAPOJ, A)

13.THE GOOD SHEPHERD (2006, ROBERT DE NIRO, A/A-)

14.SECRET (2006, MONCHAI CHATBAMRUNGSUK, A/A-)
ชอบฉากแตะใบไมยราบมากๆ

15.SIL 5 (THAWATPONG TANGSAJJAPOJ, A/A-)

38 MUSIC TRENDS IN 1995

อันนี้เป็นความเห็นของดิฉันในบล็อกของคุณสุดค่ะ
http://autonomybeans.exteen.com/20070324/entry?page=1#

ชอบประโยคที่ว่า “พอตัดสินใจได้ ร่างกายก็ขยับ” ค่ะ เพราะมันทำให้นึกถึงปัญหาของตัวเอง เพราะมีอยู่หลายครั้งที่ตัวเองนั่งนิ่งๆอยู่ในห้อง ไม่รู้ว่าจะทำอะไรก่อนหลังดี รู้สึกเหมือนมีเรื่องให้ต้องทำประมาณหนึ่งล้านอย่าง อย่างเช่น อ่านหนังสือ, อ่านนิตยสาร, อ่านข่าว, จัดตู้เสื้อผ้า, ดูวิดีโอ, กวาดห้อง, ซักผ้า, ฟังเพลง แล้วก็จะนั่งคิดว่าตัวเองควรทำอะไรก่อนดี คิดหาเหตุผลข้อดีข้อเสียจัดลำดับความสำคัญของกิจกรรมต่างๆในหัวตัวเองไปเรื่อยๆ ปรากฏว่าเวลาผ่านไป 10 นาทีกับการตัดสินใจไม่ได้ว่าควรทำอะไรเป็นลำดับแรกสุด ซึ่งดิฉันพบว่ามันเป็นสิ่งที่เสียสติเป็นอย่างยิ่ง และเป็นการเสียเวลาโดยเปล่าประโยชน์เป็นที่สุด

หลังจากค้นพบข้อเสียของตัวเองแล้ว คราวหลังดิฉันก็จะพยายามมีสติมากขึ้นค่ะ พอตัวเองเริ่มตกอยู่ในภวังค์ความคิดว่า “เราควรจะทำอะไรก่อนหลังดี” แล้วตัดสินใจไม่ได้ภายในเวลาประมาณ 1 นาที ดิฉันก็จะรีบออกจากภวังค์แล้วทำงานอะไรก็ได้ที่ตัวเองคิดขึ้นมาในตอนนั้น จะไม่ยอมเสียเวลาไปกับการ “มัวแต่ตัดสินใจเลือกไม่ได้” อีกต่อไป เพราะอย่างน้อยเวลา 10 นาทีที่หมดไปกับการตัดสินใจไม่ได้นี่ ถ้าใช้ไปกับการอ่านนิตยสารก็อ่านไปได้หนึ่งคอลัมน์แล้ว


ความเห็นของคุณ pc ในเว็บบอร์ดไบโอสโคป
http://www.bioscopemagazine.com/smf/index.php?topic=71.30

ตอบคุณ Madeleine

ได้ดูมิวสิควิดิโอของ KODE9 ที่คุณทำลิงค์ไว้ให้แล้วครับ ต้องขอบพระคุณเป็นอย่างยิ่งครับ บรรยากาศของภาพในมิวสิควิดิโอนี้เข้ากับดนตรีในแนว Dubstep ได้ดีทีเดียวครับ เป็นบรรกาศที่ดูแล้วชวนให้รู้สึกเหมือนกำลังตกอยู่ในอันตราย เหตุการณ์ที่ชวนช็อคพร้อมจะปรากฏให้เห็นได้ทุกเมื่อ เพราะฉากในช่วงต้นเรื่องมีสิ่งที่บ่งบอกถึงความวิปริตที่จะเกิดขึ้นตามมาแทบทุกฉาก และดนตรีของวงนี้ก็เป็นไปตามที่บรรยายไว้ในบทความเลยครับ แทนที่จะขยายขอบเขตของเสียงในดนตรีแนวนี้ให้กว้างออกไปด้วยการนำเอาองค์ประกอบจากแนวดนตรีอื่นๆเข้ามาผสม วงนี้กลับหันเข้าไปภายในที่แก่นของตัวมันเองในดนตรีแนวนี้ ด้วยการเน้นไปที่โครงสร้างชั้นในสุดที่ยังไม่ได้รับการสำรวจ ผลก็คือเสียงที่แห้งและเย็นเยียบจนขนลุก

เวลาที่ผมฟังดนตรีพวก Dubstep หรือพวก Grime (ผมยังแยกแนวดนตรีสองแนวนี้ไม่ออกเลยครับ) โทนสีของดนตรีจะออกดำๆ ภาพที่นึกถึงมักจะเป็นเมืองร้างในโลกอนาคตที่ดูวิปริต น่าสะพรึงกลัว จังหวะที่รวดเร็วที่ไม่เน้นท่วงทำนองของดนตรีแนวนี้ทำให้ผมรู้สึกถึงโลกดิจิตอลที่มืดมนและแห้งแล้ง ถ้าเป็นดนตรีแนว dub เฉยๆ ผมยังรู้สึกถึงท่วงทำนองและบรรยากาศที่เคลิบเคลิ้มล่องลอย แต่ Dubstep นี่ มันแทบจะไม่เหลือบรรยากาศโรแมนติคแบบไซคีเดลลิคหลงเหลือให้ได้ชื่นชมกันบ้างเลยครับ

ผมมักจะฟังเพลงแนวนี้จากรายการของ Mary Anne Hobbs ใน Radio 1 แม้ว่าผมจะรู้สึกว่าดนตรีแนวนี้ฮาร์ดคอร์เกินไป แต่ผมชอบเสียงของเธอครับ เสียงของเธอจะฟังดูสะลึมสะลือเหมือนกับว่าเธอจัดรายการไปพร้อมๆกับเล่นยาไปด้วยในเวลาเดียวกัน เมื่ออาทิตย์ที่แล้วเธอได้เปิดแทร็คของ Shapleton - 'Blood on My Hands' (Villa Lobos remix) ถ้าผมจำไม่ผิดนะครับ เธอบอกว่าตอนนี้ผลงานของ Shapleton ได้รับความนิยมจนเป็นที่เสาะแสวงหาอย่างแพร่หลาย ผมฟังดูแล้วก็ยังเข้าไม่ถึงจริงๆครับ

ผมเคยได้ดูมิวสิควิดิโอเพลงนั้นของ RICK ASTLEY มาเมื่อเกือบจะสิบแปดปีมาได้แล้วล่ะครับ จำได้ว่าสมัยนั้นเวลาฟังเสียงของเขาทีไร ผมมักจะนึกไปถึงนักร้องอเมริกันรุ่นเก่าๆ เพราะเสียงทุ้มใหญ่ของเขาฟังดูเป็นแบบเก่าๆดีครับ

เมื่อหลายปีที่แล้วผมได้ดู ALFIE ต้นฉบับ สมัยที่ Michael Caine ยังเพิ่งจะสามสิบต้นๆ เนื้อเรื่องอาจจะต่างจากเวอร์ชั่นในยุคนี้ไปบ้าง การเดินเรื่องของต้นฉบับจะเรียบกว่า แตฉากเศร้าบางฉากก็เชื่อมต่อกับฉากอื่นๆที่แฝงอารมณ์ขันได้อย่างแนบเนียนครับ ฉากที่ผมชอบที่สุดในเวอร์ชั่นใหม่นี่ จะเป็นฉากที่พระเอกได้ทราบความจริงว่าเมียของเพื่อนที่เพิ่งคลอด ได้ตั้งท้องและให้กำเนิดลูกของเขา ในขณะที่เพื่อนของเขาก็ต้องรับสภาพความจริงว่าแฟนของเขารับปากแต่งงานก็เพราะต้องการให้เด็กที่เกิดมาได้มีพ่อ ที่ชอบที่สุดก็คือฉากที่พระเอกยืนประจันหน้ากับเพื่อนผิวดำของเขาที่ยืนมองเขาเหมือนกับจะร้องไห้ และพระเอกก็ได้บอกกับเพื่อนของเขาไปเสียงอ่อยๆว่า “ฉันไม่ได้ต้องการจะทำร้ายใคร” และเพื่อนของเขาก็ตอบกลับมาว่า “แต่นายก็ได้ทำไปแล้ว” ไม่ทราบเหมือนกันนะครับ มันควรจะเป็นฉากเศร้าหรือฉากตลกร้าย แต่ผมกลับรู้สึกขำกับสถานการณ์ที่พระเอกต้องเผชิญมากเลยครับ ยิ่งนึกไปถึงความรู้สึกผิดที่เขาต้องแบกรับ ที่จะทำให้เขาเป็นนักรักได้ไม่เต็มที่อีกต่อไป พร้อมกับใบหน้าที่ยิ้มไม่ออกของเขา มันก็ตลกได้ประหลาดๆดีครับ


ตอบคุณ pc

--คุณ pc บรรยายถึงเพลงของ KODE9 ได้ดีมากๆเลยค่ะ โดยส่วนตัวแล้ว ตอนที่ดิฉันดูมิวสิควิดีโอเพลง SAMURAI ของ KODE9 & SPACEAPE ดิฉันก็นึกไปถึงหนังของ STANLEY KUBRICK ค่ะ เพราะมันทำให้นึกถึงโลกอนาคตที่โหดร้ายและเย็นชา

--เห็นด้วยค่ะว่าเสียงของ RICK ASTLEY ทำให้นึกถึงนักร้องรุ่นเก่า โดยเฉพาะตอนที่เขาร้องเพลง WHEN I FALL IN LOVE นี่เหมือนนักร้องเมื่อ 50 ปีก่อนมากๆ

ดูมิวสิควิดีโอ WHEN I FALL IN LOVE ของ RICK ASTLEY ได้ที่นี่ค่ะ
http://www.youtube.com/watch?v=SwLL8mBkDxQ

--ชอบพล็อตเรื่องของ ALFIE (2004, CHARLES SHYER, A+/A) ตรงส่วนความสัมพันธ์ของพระเอกกับสาวผิวดำมากๆเหมือนกันค่ะ ถ้าเข้าใจไม่ผิด บทสาวผิวดำคนนี้แสดงโดย NIA LONG แต่สาเหตุที่ดิฉันชอบเนื้อเรื่องตรงส่วนนี้อาจจะต่างไปจากเหตุผลของคุณ pc เพราะว่าดิฉันชอบเนื้อเรื่องตรงส่วนนี้ เพราะมัน “พาฝัน” ดีสำหรับผู้ชมอย่างดิฉันซึ่งเป็นคนผิวสี ถ้าหากหนังเรื่องนี้ให้พระเอกซึ่งเป็นหนุ่มหล่อมีเพศสัมพันธ์แต่กับสาวสวยผิวขาวอายุน้อย ดิฉันอาจจะไม่ชอบหนังเรื่องนี้มากเท่านี้ก็ได้ เพราะดิฉันคงไม่สามารถ identify ตัวเองกับสาวสวยผิวขาวอายุน้อยได้ง่ายนัก แต่การที่พระเอกหนังเรื่องนี้มีเพศสัมพันธ์กับสาวผิวสีและสาวแก่ มันเหมือนกับเป็นการตอบสนองจินตนาการของผู้ชมอย่างดิฉันได้ดีมากๆ และทำให้ความสุขที่ได้รับจากการดูหนังเรื่องนี้เพิ่มมากขึ้น ฮ่าๆๆๆๆ

http://xq28.net/s/viewtopic.php?p=212801#212801

--สำหรับหนังสือ ดนตรี คีตา เวหา อิเล็กทรอนิกส์ ของคุณนรเศรษฐ หมัดคง นั้น ดิฉันคิดว่าเป็นการรวบรวมสิ่งที่เขาเคยเขียนไว้ในมติชนสุดสัปดาห์ในช่วง 10 ปีที่ผ่านมาค่ะ อ่านรายละเอียดเกียวกับหนังสือเล่มนี้ได้ที่นี่
http://www.onopenbooks.com/product.detail.php?lang=th&id=917406

--เห็นคุณ pc พูดถึงการแยกแนวดนตรีในอังกฤษไม่ค่อยออก พอดีดิฉันได้ไปเปิดดูนิตยสาร GENERATION TERRORIST เล่มเก่าๆ ก็เจอบทความที่น่าสนใจในเล่ม 9 ค่ะ บทความนี้เป็นของคุณอาทิตย์ พรหมประสิทธิ์ (หรือที่ดิฉันชอบเรียกว่า คุณสนธยา ทรัพย์เย็น แห่งวงการเพลง) ที่พูดถึงแนวเพลงต่างๆในอังกฤษในปี 1995 ที่อาจจะเกี่ยวพันกับแนวเพลงหลายๆแนวในอดีต

เราลองย้อนกลับไปรำลึกความหลังกันดีกว่าว่า แนวเพลงในอังกฤษเมื่อ 12 ปีก่อนหน้านี้มีแนวอะไรกันบ้าง และอาจจะมีพื้นฐานมาจากแนวเพลงแนวใด รวมทั้งศิลปินในแต่ละแนวมีใครกันบ้าง

(ข้อมูลข้างล่างนี้คัดลอกมาจากบทความที่ระบุไว้ข้างต้น)

1.DISCO


2.NORTHERN SOUL (ต่อยอดมาจากดนตรีของ MOTOWN)

2.1 BEGGAR & CO
MV (SOMEBODY) HELP ME OUT
http://www.youtube.com/watch?v=CMcqmn6kOgI

2.2 FREEEZ
MV SOUTHERN FREEEZ
http://www.youtube.com/watch?v=1BnIAKArwBk


3.DUB

3.1 KING TUBBY
http://www.youtube.com/watch?v=xRSw6rKn9Fk


4.EURO OR TEUTONIC

4.1 KRAFTWERK


5.OLD SCHOOL RAP

5.1 KOOL HERC
http://www.youtube.com/watch?v=u0iddb0BcnE

5.2 GRANDMASTER FLASH
MV THE MESSAGE
http://www.youtube.com/watch?v=F6e9G-ump3Y


6.HI-NRG (ต่อยอดมาจากดนตรีดิสโก้)

6.1 MIGUEL BROWN
MV SO MANY MEN SO LITTLE TIME
http://www.youtube.com/watch?v=t3LNWpsscAY

6.2 WATERFRONT HOME
TAKE A CHANCE (ON ME) (HOT TRACKS REMIX) (1983)
http://www.youtube.com/watch?v=G-FqArg5IrA

6.3 ALPHONSE MOUZON
MIND TRANSPLANT (with Tommy Bolin)
http://www.youtube.com/watch?v=KRj02qk1K0o


7.NEW ROMANTIC

8.ALTERNATIVE GROOVE (PUNK + DANCE)

8.1 NEW ORDER

8.2 CABARET VOLTAIRE
MV SENSORIA (1984)
http://www.youtube.com/watch?v=pBEj7T7WYM8

8.3 THE POP GROUP
MV SHE’S BEYOND GOOD AND EVIL
http://www.youtube.com/watch?v=GpTng0zgjS4

8.4 23 SKIDOO
MV KUNDALINI (1982)
http://www.youtube.com/watch?v=GpTng0zgjS4


9. ELECTRO

9.1 AFRIKA BAMBAATAA

9.2 ARTHUR BAKER

9.3 MAN PARRISH
MV MALE STRIPPER BY MAN 2 MAN FEATURING MAN PARRISH
http://www.youtube.com/watch?v=OT_kV4z-9xM

9.4 GEORGE KRANZ
MV DIN DAA DAA
http://www.youtube.com/watch?v=9h3q8mQoZKk
เพลง DIN DAA DAA นี้เคยได้รับการนำมาทำใหม่ในทศวรรษ 1990 โดย KEVIN AVIANCE นักร้องเกย์แถวหน้าของสหรัฐ และก็ทำออกมาได้เริ่ดสะแมนแตนมากๆ

9.5 MANTRONIX
http://www.youtube.com/watch?v=wk2Arb_Z-8M


10. LATIN HIP HOP

10.1 MADONNA


11. HOUSE

11.1 FRANKIE KNUCKLES

11.2 MR.FINGERS (LARRY HEARD)
http://www.youtube.com/watch?v=ueOAgmJmbnA

11.3 KRUSH
HOUSE ARREST (BUG ON OUT)
http://www.youtube.com/watch?v=dpAXV38yiTU


12.GO-GO

12.1 TROUBLE FUNK
MV MISTER MAGIC (1988)
http://www.youtube.com/watch?v=ZdzR3YRN_mQ


13. RARE GROOVE (ต่อยอดมาจาก JAMES BROWN และวิวัฒนาการต่อไปจนกลายเป็น ACID HOUSE + ACID JAZZ)

13.1 NORMAN JAY
http://www.youtube.com/watch?v=rB0k4ciWmHo

13.2 BRAND NEW HEAVIES

13.3 BARRIE SHARPE & DIANA BROWN


14.BHANGRA

14.1 ALAAP
http://www.youtube.com/watch?v=a4BrF0F8Zbc


15.MIXED BEAT

15.1 S-EXPRESS
MV THEME FROM S-EXPRESS
http://www.youtube.com/watch?v=yZCDxv627Ww

15.2 BOMB THE BASS
MV BEAT DIS
http://www.youtube.com/watch?v=TQf32OG_ASQ

15.3 COLDCUT FEATURING YAZZ
MV DOCTORIN’ THE HOUSE
http://www.youtube.com/watch?v=nGYplxhNf4Q


16.NEW GENERATION RAP

16.1 PUBLIC ENEMY

16.2 DE LA SOUL

16.3 ICE T

16.4 N.W.A.

16.5 ICE CUBE


17.G-FUNK

17.1 WARREN G

17.2 SNOOP DOGGY DOGG

17.3 DR. BRAT

17.4 COOLIO


18. ACID HOUSE

18.1 MARSHALL JEFFERSON
http://www.youtube.com/watch?v=UEfkVgbXOzY


19.GARAGE (ต่อยอดมาจาก ACID HOUSE)


20.TECHNO

20.1 INNER CITY
MV GOOD LIFE หนึ่งในเพลงที่ชอบที่สุดในชีวิต
http://www.youtube.com/watch?v=wVuCKdRWTWs

20.2 DERRICK MAY
http://www.youtube.com/watch?v=MdbZMSLhfHM


21.EURO DISCO

21.1 GIORGIO MORODER
MV FROM HERE TO ETERNITY
http://www.youtube.com/watch?v=0OU7Hka_--U


22.ACID JAZZ

22.1 GILLES PETERSON
http://www.youtube.com/watch?v=WGRcVOUc53g

22.2 JTQ (JAMES TAYLOR QUARTET)
MV J.T.Q. THEME
http://www.youtube.com/watch?v=4hwvfIFgSb8

22.3 JAMIROQUAI

22.4 BRAND NEW HEAVIES

22.5 INCOGNITO


23.ELECTRONIC BODY MUSIC

23.1 FRONT 242
MV QUITE UNUSUAL
http://www.youtube.com/watch?v=urd8tG0xvoM

23.2 FRONT LINE ASSEMBLY
MV MINDPHASER (the mv comes from the Japanese movie “GUNHED” (1989, MASATO HARADA)
http://www.youtube.com/watch?v=u8W6ID8jk4A

23.3 JADE 4 U
MV INJECTED WITH A POISON BY PRAGA KHAN FEATURING JADE 4 U
http://www.youtube.com/watch?v=bTZg5jcgMdE

23.4 MEAT BEAT MANIFESTO
MV HELTER SKELTER ‘97
http://www.youtube.com/watch?v=woCX7s_cTl4


24. SWING BEAT/NEW JACK

24.1 TONY TONI TONE!
MV THE BLUES
http://www.youtube.com/watch?v=PCTT_F3Ji8M

24.2 SWV


25.HIP HOUSE (RAP + HOUSE)

25.1 THE BEATMASTERS
MV LIP SERVICE (1985)
http://www.youtube.com/watch?v=si0wR2FnS2s


26. ITALIAN HOUSE

26.1 BLACKBOX

26.2 STARLIGHT


27. RAGGA


28.INTELLIGENT TECHNO

28.1 SPRING HEEL JACK


29.BAGGY

29.1 THE STONE ROSES

29.2 HAPPY MONDAYS

29.3 SOUP DRAGONS


30.RAVE

30.1 KLF


31. HARDCORE

31.1 PRODIGY


32. GABBA (DUTCH HARDCORE)
http://www.youtube.com/watch?v=aYxQacYmhoc


33.TRIBAL TECHNO (HIPPIE + TECHNO)

33.1 EAT STATIC
http://www.youtube.com/watch?v=e5YVNxGHicU

33.2 SPIRAL TRIBE
http://www.youtube.com/watch?v=4rbde8Kkfek


34.PROGRESSIVE HOUSE

34.1 FUTURE SOUND OF LONDON

34.2 UNDERWORLD

34.3 LEFTFIELD

34.4 ORBITAL


35. TRANCE

35.1 PETE NAMLOOK
MV A MILLION MILES TO EARTH (1994)
http://www.youtube.com/watch?v=KQ5giP3nH4c

35.2 BIOSPHERE
http://www.youtube.com/watch?v=uxr5CorWQvI

35.3 APHEX TWIN


36.JUNGLE (HARDCORE + RAGGA)

36.1 BABY D

36.2 OMNI TRIO
MV THRU THE VIBE (JESTA MIX)
http://www.youtube.com/watch?v=ZY9fylJW6ec

36.3 FOUL PLAY


37.GLOBAL GROOVE

37.1 TRANSGLOBAL UNDERGROUND
MV TAL ZAMAAN BY TRANSGLOBAL UNDERGROUND + NATACHA ATLAS
http://www.youtube.com/watch?v=X11dnQ8F3F0

37.2 LOOP GURU

37.3 ULTRAMARINE


38.AMBIENT

38.1 GLOBAL COMMUNICATION

38.2 AUTECHRE
MV SECOND BAD VIBEL (DIRECTED BY CHRIS CUNNINGHAM)
http://www.youtube.com/watch?v=X11dnQ8F3F0


บล็อกของคุณอาทิตย์ พรหมประสิทธิ์
http://www.myspace.com/noisysonny


http://www.bioscopemagazine.com/smf/index.php?topic=95.0

ตอบคุณคนมองหนัง

--ดีใจมากๆค่ะที่คุณคนมองหนังชอบตัวละครเชอรี่ แบลร์ใน THE QUEEN

--พูดถึงละครโทรทัศน์ที่ถูกเซ็นเซอร์แล้ว ก็นึกถึง

1.เลือดขัตติยา ที่สร้างจากบทประพันธ์ของทมยันตี เมื่อราวช่วงต้นทศวรรษ 1980 ช่อง 3 เคยลงทุนสร้างละครเรื่องนี้ และมีการโปรโมทกันอย่างมาก มีดาราดังๆมาร่วมเล่น แต่ในที่สุดก็ถูกสั่งห้ามฉาย โดยมีข่าวลือว่าเพราะเนื้อหาคล้ายกับชีวิตจริงของใครบางคน

จำได้ว่าทมยันตีเคยให้สัมภาษณ์ว่า “กบว.” ซึ่งเป็นหน่วยงานควบคุมโทรทัศน์ในตอนนั้นย่อมาจากคำว่า “กระบวยวัด”


2.หมาๆแมวๆ (A+)

สร้างจากบทประพันธ์ของบรรจบ พันธุเมธา และเป็นละครที่น่ารักสุดๆ ฉายทางช่อง 3 แต่พอออกอากาศไปได้ไม่กี่ตอน ก็ถูกสั่งห้ามฉาย เพราะใครบางคนไม่พอใจที่เห็นคนมาแสดงเป็นหมาๆแมวๆ


3.ศึกลำน้ำเลือด (A+)

ละครฮ่องกง ฉายทางช่อง 3 แต่ฉายไม่ครบทุกตอน หายไปหลายตอน โดยเฉพาะในช่วงที่องค์ชายที่แสดงโดย “อู๋ฉี่หัว” กำลังจะก้าวขึ้นมาเป็นฮ่องเต้


4.ละครฮ่องกงจำชื่อเรื่องไม่ได้ รู้สึกจะชื่อเรื่องประมาณ “เลือดรักเลือดแผ่นดิน” หรืออะไรทำนองนี้ เป็นละครที่ดังมากในเมืองนอก รู้สึกว่าจะยาวประมาณ 300 ตอน และเล่าถึงประวัติศาสตร์จีนในช่วงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 ละครเรื่องนี้เคยมีข่าวว่าจะนำมาฉายทางช่อง 3 แต่พอถึงเวลาก็ถูกสั่งห้ามฉาย โดยมีข่าวลือว่าเป็นเพราะละครเรื่องนี้มีเนื้อหาเกี่ยวกับการปฏิวัติในจีน

ดิฉันจำชื่อดารานำในละครเรื่องนี้ไม่ได้ จำได้แต่ว่าเธอเคยเล่นเป็น “อีเบลซ่า” ซึ่งเป็นลูกสมุนคนสำคัญของ “เจ้าหญิงอนัตตา” ใน “กระบี่ไร้เทียมทาน”


--พูดถึงการเซ็นเซอร์แล้ว ก็ทำให้นึกถึงหนังสั้นของไทยเรื่อง “คงกระพันชาติไทย” (1998, สุรชัย พัฒนากิจไพบูลย์, A) ที่พูดถึงการเซ็นเซอร์ในหนังไทยด้วย

--พูดถึงการเซ็นเซอร์แล้ว ก็ทำให้นึกถึงหนังเรื่องอื่นๆ อย่างเช่น

1.FRIENDLY PERSUASION: IRANIAN CINEMA AFTER THE 1979 REVOLUTION (2000, JAMSHEED AKRAMI, A-)
หนังสารคดีเรื่องนี้พูดถึงกฎข้อห้ามมากมายในหนังอิหร่าน
http://www.imdb.com/title/tt0261699/


2.UNFINISHED SONG (2001, MAZIAR MIRI, A+)
หนังที่พูดถึงกฎข้อห้ามในอิหร่านที่ห้ามผู้หญิงร้องเพลง
http://www.imdb.com/title/tt0277975/


3.IRAN IS MY HOMELAND (1999, PARVIZ KIMIAVI)
http://movies2.nytimes.com/gst/movies/movie.html?v_id=177579

โซห์ราบ (BEHZAD KHODAVEYSI) กำลังศึกษาผลงานของกวีชาวเปอร์เชียยุคคลาสสิก 5 คนเพราะเขากำลังจะเขียนหนังสือเกี่ยวกับกวีเหล่านี้ แต่เขาก็พบกับปัญหาอยู่ตลอดเวลาเนื่องจากมีการเซ็นเซอร์วรรณกรรมในอิหร่าน อย่างไรก็ดี อยู่ดีๆวันหนึ่งกวีที่ตายไปนานแล้ว 5 คนนี้ก็กลับมาปรากฏตัวในรูปของมนุษย์อีกครั้ง และกวีเหล่านี้ก็ท่องโคลงกลอนของตัวเองออกมา ในขณะที่ทางการพยายามจะตัดสินว่าการตีความบทกลอนของพวกเขาในแบบใดจึงจะถูกต้องที่สุด

IRAN IS MY HOMELAND เป็นหนังเสียดสีการเมืองในอิหร่านที่ยกย่องเชิดชูมรดกทางวรรณคดีของประเทศไปด้วยในเวลาเดียวกัน


อันนี้เป็นรูปจากหนังเรื่อง OH GUARDIAN OF DEERS (1970) ของ PARVIZ KIMIAVI
http://home.tele2.ch/richterfilm/gazellen3.jpg
http://home.tele2.ch/richterfilm/gazellen2.jpg
http://home.tele2.ch/richterfilm/gazellen1.jpg

ข้อมูลเกี่ยวกับหนังเรื่องนี้
http://home.tele2.ch/richterfilm/gazellen.html
A masterpiece of the history of documentary cinema. The film which was shelved for many years focuses on men and women visiting the shrine of Imam Reza, the eighth Shiite Imam, in the city of Mashad in the North East of Iran.


--พูดถึงเรื่องการฆ่าๆแกงๆกันสมัยอยุธยาแล้ว ดิฉันก็มักจะนึกถึงคอลัมน์เรื่องราวในอดีตในนิตยสาร “ดิฉัน” เมื่อราว 20 ปีก่อนค่ะ ช่วงนั้นดิฉันไม่ได้สนใจประวัติศาสตร์อยุธยาหรือประวัติศาสตร์ไทยแต่อย่างใด แต่เคยมองผ่านๆตาคอลัมน์นี้ ก็มักจะรู้สึกว่าชีวิตในสมัยนั้นมันไม่มีเสถียรภาพเอาเสียเลย พอเปลี่ยนกษัตริย์ที ก็ฆ่าขุนนางของกษัตริย์องค์ก่อนๆกันใหญ่ และอีกจุดที่ดิฉันรู้สึกรุนแรงมากตอนเด็กๆก็คือกฎหมายในอดีตมันเต็มไปด้วยความอยุติธรรมอย่างรุนแรง คนบริสุทธิ์สามารถถูกสั่งประหารชีวิตได้อย่างง่ายๆโดยถูกต้องตามกฎหมายทั้งๆที่เขาไม่ได้ทำอะไรผิดเลย

ตัวอย่างกฎหมายที่อยุติธรรมในอดีต อันนี้ได้มาจาก WIKIPEDIA เกี่ยวกับ สาเหตุที่ทำให้สมเด็จพระนางเจ้าสุนันทากุมารีรัตน์เสด็จทิวงคต ซึ่งดิฉันไม่รู้ว่าข้อมูลในนี้จริงหรือเปล่า

“ในขณะนั้นบริเวณที่เกิดเหตุมีพวกมอญกำลังขุดทรายอยู่ แต่ไม่มีใครกล้าเข้าไปช่วย เพราะกฎมณเฑียรบาลได้ห้ามให้ผู้ใดแตะต้องพระวรกายของพระมเหสี มิฉะนั้นจะถูกประหารทั้งตระกูล”



--แต่ที่รู้สึกนี้ไม่ได้รู้สึกแต่กับประเทศไทยในอดีตเท่านั้น แต่รู้สึกว่าการแย่งชิงอำนาจในอดีตทั่วโลกเป็นสิ่งที่โหดร้ายมาก ทั้งในอังกฤษ (ELIZABETH), ฝรั่งเศส (QUEEN MARGOT ที่นำแสดงโดยอิซาเบล อัดจานี), รัสเซีย (PETER THE GREAT มินิซีรีส์ปี 1986)


--หนังที่ปลุกเร้าอารมณ์ดิฉันได้อย่างรุนแรงที่สุดเรื่องนึงเกี่ยวกับกฎหมายในอดีต ก็คงจะเป็นเรื่อง “อำแดงเหมือนกับนายริด” (MUEN & RID) (1994, CHERD SONGSRI, A+/A) ที่แสดงให้เห็นถึงความอยุติธรรมของกฎหมาย
http://www.fivestarent.com/movies/movies.asp?MoviesID=186


--ส่วนละครโทรทัศน์แนวรบพุ่งในอดีตที่อยากดูซ้ำนั้น ดิฉันมักจะนึกถึง “ขุนศึก” ที่นำแสดงโดยโกวิท วัฒนกุล กับนิภาพร นงนุชค่ะ เพราะตอนเด็กๆดิฉันเหมือนจะจำฝังใจว่า โกวิท วัฒนกุลหล่อดีใน “ขุนศึก” แต่พอโตขึ้นก็นึกไม่ออกแล้วว่าตอนที่เขาหล่อนั้น เขาหน้าตาเป็นอย่างไร ก็เลยทำให้อยากหาละครเรื่องนี้มาดูซ้ำอีกครั้งว่าเขาหล่อจริงหรือเปล่า หรือความทรงจำของตัวเองในวัยเด็กได้บิดเบือนไปตามกาลเวลา ฮ่าๆๆๆๆ


--พูดถึงเรื่องอาณานิคมแล้ว ก็ทำให้รู้สึกว่ามีจุดนึงที่น่าสนใจในหนังเรื่อง “พระเด็กเสือไก่วอก” THE MAGNIFICENT FIVE (2006, BHANDIT RITTAKOL, A) เพราะถ้าจำไม่ผิด ในหนังที่ค่อนข้างเป็นแฟนตาซีเรื่องนี้ มีเนื้อหาบางส่วนเกี่ยวกับการค้าทาสในยุคอาณานิคมด้วย โดยเป็นการจับคนไทยไปขายเป็นทาสให้เรือฝรั่งต่างชาติผ่านทางพม่า

พอดูหนังเรื่องนี้ก็เลยทำให้สะกิดใจว่า เรื่องแบบนี้เคยเกิดขึ้นจริงในอดีตหรือเปล่า เพราะปกติแล้วดิฉันมักได้ดูแต่หนัง/ละครทีวีย้อนยุค ที่มีเรื่องของเจ้านาย-ทาส ที่เป็นคนไทยด้วยกันเองในประเทศไทย แต่เหมือนไม่เคยได้ยินเรื่องของทาสคนไทยที่ถูกส่งไปทำงานในต่างประเทศมาก่อน

รู้สึกว่าคนไทยในอดีตอาจจะมีข้อดีตรงจุดนี้ ตรงที่ไม่ต้องประสบชะตากรรมเหมือนอย่างคนในแอฟริกากับอเมริกาใต้ ที่ถูกเจ้าอาณานิคมจับไปเป็นทาสอย่างทารุณโหดร้ายมากๆ ซึ่งเรื่องราวเหล่านี้ดิฉันก็ได้รับทราบผ่านทางภาพยนตร์นี่แหละ

หนังเกี่ยวกับค้าทาสในอเมริกาใต้ที่โหดร้ายมากๆ สำหรับดิฉันก็คงจะเป็นเรื่อง THE MISSION (1986, ROLAND JOFFE, A+), หนังเกี่ยวกับการค้าทาสในแอฟริกาที่โหดร้ายมากๆสำหรับดิฉันคือเรื่อง COBRA VERDE (1987, WERNER HERZOG, A) ส่วนเรื่องราวเกี่ยวกับทาสในอเมริกาที่น่าสนใจที่สุดเรื่องนึง คงจะเป็นมินิซีรีส์เรื่อง ROOTS (1977) ที่เคยมาฉายทางช่อง 3 น่าเสียดายที่ดิฉันแทบจำอะไรในมินิซีรีส์เรื่องนี้ไม่ได้แล้ว

A saga of African-American life, based on Alex Haley's family history. Kunta Kinte is abducted from his African village, sold into slavery, and taken to America. He makes several escape attempts until he is finally caught and maimed. He marries Bell, his plantation's cook, and they have a daughter, Kizzy, who is eventually sold away from them. Kizzy has a son by her new master, and the boy grows up to become Chicken George, a legendary cock fighter who leads his family into freedom. Throughout the series, the family observes notable events in U.S. history, such as the Revolutionary and Civil Wars, slave uprisings, and emancipation.

http://ec2.images-amazon.com/images/P/B000NA21S6.01._SS500_SCLZZZZZZZ_V42192569_.jpg

--ส่วนละครเรื่อง "นางทาส" กับ "ลูกทาส" นั้น ดิฉันงงๆ เล็กน้อยค่ะว่าละครเรื่องไหนเป็นเรื่องไหน รู้สึกว่าตัวเองจะเคยดูแค่ "ลูกทาส" เวอร์ชันที่หม่อมน้อยกำกับ

Saturday, March 24, 2007

FAVORITE ARTIST: PORNPAN KIATPARKPOOM

http://xq28.net/s/viewtopic.php?p=212587#212587

--ขออวยพรวันเกิดให้น้อง VESPERTINE ย้อนหลังหนึ่งวันนะคะ


--วันนี้ไม่รู้เป็นไง เข้า BLOG ของตัวเองแล้วมีปัญหา โหลดหน้ามาได้ไม่เต็มหน้า แต่เข้าบล็อกของคนอื่นๆใน BLOGSPOT.com เหมือนกันก็ไม่มีปัญหาอะไร ก็เลยลองส่งข้อความสั้นๆเข้าไปในบล็อกของตัวเองดู ปรากฏว่าหลังจากนั้นบล็อกก็หายเป็นปกติ ไม่รู้ว่าเพื่อนๆคนไหนเคยเจอเหตุการณ์แบบนี้หรือเปล่า หรือพอรู้ไหมว่ามันเกิดจากอะไร

--ช่วงนี้แทบไม่มีเวลาเล่นเน็ตเลย อาจจะตอบทุกคนได้ไม่ทั่วถึง ต้องขออภัยไว้ ณ ที่นี้ด้วยนะคะ

วันนี้ขอเขียนถึงสิ่งที่ตัวเองได้ดูในช่วง 1 สัปดาห์ที่ผ่านมาก่อนนะคะ

1.HUA-LAM-PHONG (2004, CHULAYARNNON SIRIPHOL, A+)
ดูเป็นรอบที่สอง
http://www.thaiindie.com/wizContent.asp?wizConID=110&txtmMenu_ID=7


2.A-DA-DA (2002, SUNG HWAN KIM, A+)


3.THUNDER (CHULAYARNNON SIRIPHOL, A+)


4.CRUEL ILLNESS OF MEN (1987, IGOR ALEINIKOV + GLEB ALEINIKOV, A+)

ดูทาง UBU
http://www.ubu.com/film/aleinikov.html

ต้องขอขอบคุณคุณ FILMSICK มากค่ะที่แนะนำหนังเกย์เรื่องนี้
http://www.emaf.de/1990/sowpar_e.html

The dance of technology, militarism, progress credibility and ideology is to be attributed to masculine authoritative thinking. Romantic abandoned industry aesthetics symbolize the civilization decline and the human disdain. Being shown "Pictures of this world" a naive spectator falls a victim of a metaphoric homosexual rape.


5.GOLDEN SAND HOUSE (2005, CHULAYARNNON SIRIPHOL, A+)


6.CIRCULO DE VIDA (CHALERMCHATRI YUKOL, A+)
ดูหนังเรื่องนี้ได้ที่
http://www.adamy.us/Film.htm


7.อสุจ๊าก THE SPERM (2007, TAWEEWAT WANTHA, A+)


8.LOST (CHALERMCHATRI YUKOL, A+/A)


9.I DREAM (2005, MAY-THUS CHAICHAYANONT, A+/A)
http://w3.thaiwebwizard.com/member/thaiindie/wizContent.asp?wizConID=90&txtmMenu_ID=7


10.HEART OF HUMAN NEEDS (CHALERMCHATRI YUKOL, A+/A)


11.BYE BYE (1995, KARIM DRIDI, A)
ดูที่สมาคมฝรั่งเศส ถ.สาทรใต้


12.วัตถุทรงกลม (2007, CHULAYARNNON SIRIPHOL, A)


13.CULTURAL POST-IT (CHALERMCHATRI YUKOL, A-)


14.HOME ALONE (2004, MAY-THUS CHAICHAYANONT, A-)
ได้ดูเป็นรอบที่สอง


15.ENOUGH (CHALERMCHATRI YUKOL, A-)


16.GHOST RIDER (2007, MARK STEVEN JOHNSON, A-/B+)
http://www.imdb.com/name/nm0425756/


17.GENERATION SYNTHETIC REVOLUTION (CHALERMCHATRI YUKOL, B+)
จริงๆแล้วรู้สึกว่ามิวสิควิดีโอนี้ดูเพลินดี แต่จุดที่ทำให้ดูแล้วไม่มีความสุขเท่าที่ควรเป็นเพราะว่าดิฉันไม่ค่อยชอบดนตรีแนวนี้ค่ะ


18.UDON (2006, KATSUYUKI MOTOHIRO, B+)
http://www.imdb.com/name/nm0609399/


19.300 (2007, ZACK SNYDER, B+)
รู้สึกว่าหนังเรื่องนี้สนุกพอสมควร แต่รู้สึกไม่ค่อยไว้วางใจในทัศนคติของหนังเรื่องนี้

จุดที่น่าสนใจก็คือการด่าทอกันอย่างรุนแรงของผู้ชมบางคนที่มีต่อนักวิจารณ์ที่วิจารณ์หนังเรื่องนี้ (ได้มาจาก http://elusivelucidity.blogspot.com )

KYLE SMITH จาก NEW YORK POST วิจารณ์หนังเรื่องนี้ไว้ที่นี่
http://www.nypost.com/seven/03092007/entertainment/movies/persian_shrug_movies_kyle_smith.htm

และนี่คือปฏิกิริยาที่ผู้ชมหนังเรื่องนี้มีต่อบทวิจารณ์ของเขา
http://blogs.nypost.com/movies/archives/2007/03/bring_me_the_he_1.html#more


20.ผีไม้จิ้มฟัน VOW OF DEATH (2007, ปิยะพันธุ์ ชูเพ็ชร์, B+)


21.บอดี้การ์ดหน้าเหลี่ยม 2 THE BODYGUARD 2 (2007, PHETTHAI WONGKHAMLAO, B)
http://www.thebodyguard2movie.com/#
อย่างไรก็ดี ชอบฉาก ENDING CREDIT ของหนังเรื่องนี้ในระดับ A+


นอกจากนี้ ยังได้ไปดูนิทรรศกาล ศิลปะจินตทัศน์นิพนธ์ OPEN MIND ของนิสิตคณะศิลปกรรมศาสตร์ ของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร ที่ HOF ART GALLERY ด้วยค่ะ
http://www.hof-art.net/
http://www.hof-art.net/thai/file/event_detail.php?id=28

แผนที่ไป HOF ART GALLERY (น่าจะอยู่ไม่ไกลจากสนง. BIOSCOPE และบ้านน้อง merveillesxx)
http://www.hof-art.net/thai/image/map.gif

ในนิทรรศการนี้ มีงานศิลปะที่ดิฉันชอบมากๆอยู่หลายงาน ซึ่งรวมถึง

1.”สิ่งที่ฉันเห็น ความรู้สึกที่เขาเป็น สิ่งที่เขาต้องทำ” ของ พรพรรณ เกียรติภาคภูมิ (PORNPAN KIATPARKPOOM) A++++++++++++++

งานชิ้นนี้อยู่ในหัวข้อ “สภาพชีวิตของคนงานในโรงงานอุตสาหกรรม”

http://farm1.static.flickr.com/164/429859581_f9b314f0cb_o.jpg
http://farm1.static.flickr.com/157/429860484_c60ae852bf_o.jpg
http://farm1.static.flickr.com/180/429860486_56d58e6122_o.jpg


2.งานศิลปะชุด “จินตภาพของสีกับความประทับใจในดอกไม้” ของ วราภรณ์ ทรงเจริญ (WARAPORN SHONGCHAROEN) A++++++++++

งานชิ้นนี้มีชื่อว่า IN MY MIND
http://farm1.static.flickr.com/153/429859578_2e8d0b65b0_o.jpg


3.ภาพจิตรกรรมชุด “ความรักในวัยรุ่น” ของกิตติศักดิ์ เปลื้องศิริ (KITTISUK PLUANGSIRI) A+

ภาพ SITTING WAITING WISHING
http://www.hof-art.net/upload_img/events/SUB_28_2_large.jpg

ภาพ HORIZON HAS BEEN DEFEATED
http://farm1.static.flickr.com/167/429859574_f0a4442456_o.jpg


4.งานชุด “การใช้เส้นสร้างมิติและรูปทรงแบบนามธรรม” ของ ปัทวี อุบลรัตน์ (PATTHAWEE UBONRAT) A+

อันนี้เป็นภาพชื่อ DIMENSION 3
http://farm1.static.flickr.com/186/429859577_5c0d606fd0_o.jpg


อันนี้เป็นงานชื่อ IT’S MIND LIFE ของธีระวัฒน์ ศรีวิชัย (TEERAWAT SRIWICHAI)
http://farm1.static.flickr.com/164/429859580_774c6f27f8_o.jpg

อันนี้เป็นงานประติมากรรมที่น่ารักดี
http://www.hof-art.net/upload_img/events/SUB_28_4_large.jpg

อันนี้รู้สึกว่าจะเป็นงานประติมากรรมที่ได้รับแรงบันดาลใจมาจากรูปทรงของไวรัส
http://www.hof-art.net/upload_img/events/SUB_28_1_large.jpg

อันนี้รู้สึกว่าจะเป็นภาพวาดน่ารักๆที่ชื่อภาพทุกชุดในกลุ่มนี้จะมีคำว่า SHIT อยู่ด้วย
http://www.hof-art.net/upload_img/events/SUB_28_6_large.jpg

ภาพจิตรกรรมเกี่ยวกับคนเมืองที่ดูถูกคนชนบท (ถ้าจำไม่ผิด)
http://www.hof-art.net/upload_img/events/SUB_28_5_large.jpg

นิทรรศการจะจัดแสดงตั้งแต่ วันที่ 9 – 31 มีนาคม 2550
ฮอฟ อาร์ท เปิดทำการทุกวันอังคาร – เสาร์ ตั้งแต่10.30 – 18.00 น.
ต้องการข้อมูลเพิ่มเติมหรือติดต่อสัมภาษณ์ศิลปินกรุณาติดต่อ ศูนย์ศิลปะฮอฟอาร์ท โทร 02 – 690 1347 – 9
เว็บไซต์ : www.hof-art.net อีเมล์: info@hof-art.net, hofartinfo@gmail.com

Test

this is a test

Thursday, March 22, 2007

RETROSPECTIVE WITCH LIST

THIS IS THE COMMENT I LEFT IN ELUSIVE LUCIDITY BLOG.

http://elusivelucidity.blogspot.com/2007/03/little-of-this-little-of-that.html#comments

What a great list! I have seen only three films directed by Rattana Pestonji and one film of which he is a cinematographer and producer. I saw BLACK SILK (1961, A), DARK HEAVEN (1958, A), and COUNTRY HOTEL (1957, A+) in 1996, and a few years later I saw CHUAFAH DIN SALAI (directed by Marut, 1955, A+). I think CHUAFAH DIN SALAI can be translated as UNTIL THE END OF TIME. (The grade I give to each film indicates how much I love it, not how good the film is.)

Personally, I think Rattana Pestonji is excellent in film craftsmanship. He might be one of the best Thai directors, but he is not one of my most favorite directors. It is because I often feel some ‘distant’ from classical cinema in general. Rattana Pestonji’s films make me admire him, but don’t make me feel very strong emotions.

I think COUNTRY HOTEL is a very entertaining movie. I love the structure of this film. For the first half of this film, the story is full of nonsensical jokes, and suddenly the story turns from comedy into thriller. It gives me as much surprise as FROM DUSK TILL DAWN. The female protagonist is very brave, and I always like this kind of female protagonist.

BLACK SILK is a good classical film, but the female protagonist in this film is too good for me to identify with. Hahaha. She behaved like Penelope, Odysseus’s patient wife. I like this film as much as I like GOLDEN MARIE (1952, Jacques Becker), which also concerns with the love of a gang member. I think both films are perfectly crafted. Everything seems to be in the right place in the right proportion. The story is nicely told. But it doesn’t make me feel very exciting.

DARK HEAVEN is a nicely told melodrama. It is adapted from SEVENTH HEAVEN (1927, Frank Borzage). I like DARK HEAVEN as much as I like some of Aki Kaurismaki’s films. These films are about poor people with pure hearts who try to be happy together against all odds. But DARK HEAVEN is a little bit ‘loud’ compared with Kaurismaki’s quiet tone.

CHUFAH DIN SALAI is my most favorite among these four films, because Marut, the director, can make very good use of the sex appeal of the handsome leading actor. I don’t know anything about Marut, but this film feels much more ‘sensual’ than the three films of Pestonji that I saw. I also like the character of the leading protagonist. She is a very bad girl, like the one in THE POSTMAN ALWAYS RINGS TWICE. Though the leading characters in this film are bad people (practicing adultery), I couldn’t help siding with them and prayed that they could win in the end. That’s why I think this film is great. It tells a romantic story of immoral couple, and can make the audience sympathize with them.

CHUAFAH DIN SALAI is also an inspiration for today’s Thai filmmaker. This film is strongly referred to in the short film called MIAMI STRIPS, HOLLYWOOD DREAMS (1999, Lee Chatametikool, A+). Lee Chatametikool now works as an editor in SYNDROMES AND A CENTURY, TROPICAL MALADY, and BLISSFULLY YOURS.

Rattana Pestonji was born in 1908, so I hope that there should be a centennial anniversary for him next year.

There are also some films by Pestonji that I would like to see very much. They are:

1.THAILAND (1958)
This film shows some historical places in Bangkok and the ordinary life of Thai people, which are very connected with Buddhism

2. DHAMMACHAKRA (THE WHEEL OF THE LAW) (1958)
This film shows Dhammachakra, which is an important symbol of Buddhism, and some stories related to Dhammachakra.

3.DIAMOND FINGER (1958)
This film shows Khon, a Thai traditional dance performance. The performance is adapted from some Hindu mythology called Ramayana. It is about Nontuk, a loyal gatekeeper in heaven. By doing his duty well, he is given magical powers by the god Shiva. He is given a diamond finger that can point death to anyone he wishes to kill. So he points it to many deities and creates havoc in heaven.

4.50 YEARS OF DIETHELM
This film collects many old advertisements for old products by Diethelm company.

5.SURA (BEVERAGES)
This one is like an industrial film. It shows the process of work inside a factory of alcoholic drinks.

THAILAND, THE WHEEL OF THE LAW, and DIAMOND FINGER are short documentaries that Pestonji made for the Thai government, so that they can be distributed to foreign embassies. They are about Thai culture and many aspects of Thailand.

50 YEARS OF DIETHELM and SURA are documentaries that Pestonji made for some business corporations.

The four short documentaries (excluding SURA) have something connected to one another, and are very important in documenting Thailand in the past.

The information about these five short films by Pestonji is from an article by Manotham Theamtheabrat, my most favorite Thai film critic. The article appeared in a Thai magazine called THAI FILM QUATERLY, July-Sep 1999.


I also like Yoshida Yoshishige, Werner Schroeter, and Alexander Kluge very much. I saw WOMEN IN THE MIRROR (2002, Yoshida Yoshishige, A+), A PROMISE (1986, Yoshida Yoshishige, A+), THE DEATH OF MARIA MALIBRAN (1972, Werner Schroeter, A+), and MALINA (1991, Werner Schroeter, A+). As for Alexander Kluge’s films, the one that I like the most is FIREFIGHTER, E.A. WINTERSTEIN (1968). It is very crazy.
,
My retrospective wish list
1.LEOPOLDO TORRE NILSSON (ARGENTINA)

2.FERRY RADAX (AUSTRIA)
He belongs to the SIXPACKFILM group.

3.ERIC DE KUYPER (BELGIUM)

4.ANDRE DELVAUX (BELGIUM)

5.JULIO BRESSANE (BRAZIL)

6.RENE ALLIO (FRANCE)

7.ALAIN ROBBE-GRILLET (FRANCE)

8.FRED KELEMEN (GERMANY)

9.VOLKER KOEPP (GERMANY)

10.WERNER NEKES (GERMANY)

11.KLAUS WYBORNY (GERMANY)

12.PANTELIS VOULGARIS (GREECE)

13.HEINOSUKE GOSHO (JAPAN)
I have heard that The National Film Theatre in London showed 21 films of Gosho in 1986,

14.SERIK APRYMOV (KAZAKHSTAN)

15.SHARUNAS BARTAS (LITHUANIA)

16.PHANI MAJUMDAR (He is an Indian who is very important in the Malaysian film history.)

17.KIM KI-YOUNG (SOUTH KOREA)

18.ALEKSANDR KAJDANOVSKY (SOVIET)

19.CLAUDE GORETTA (SWITZERLAND)

20.OMER KAVUR (TURKEY)

My retrospective witch list (for female filmmakers):

1.TRACEY MOFFATT (AUSTRALIA)

2.LAURA MULVEY (BRITISH)

3.ANNE CLAIRE POIRIER (CANADA)

4.MARGUERITE DURAS (FRANCE)

5.NOEMIE LVOVSKY (FRANCE)

6.ANGELA SCHANELEC (GERMANY)

7.ISABELL SPENGLER (GERMANY)
I’d like to see TRANSFORMATION IN THE LAND OF ENCHANTMENT, which she directed with Corinna Schnitt and Alice Koenitz.

8.ULA STOECKL (GERMANY)
I’d like to see her film called TRUST YOUR FATHERS, IGNORE YOUR EXPERIENCE (1982).

9.SADIE BENNING (USA)

10.DONNA DEITCH (USA)

Sunday, March 18, 2007

TWISTED DIMENSIONS OF NARRATIVITY

http://xq28.net/s/viewtopic.php?t=3437&start=4256

ตอบพี่ KIT

กรี๊ดดดดดดดดดดดด

ดีใจมากค่ะที่พี่ KIT กลับมาอีกครั้ง คิดถึงพี่ KIT มากๆเลยค่ะ

ดีใจที่ได้รู้ว่า SUZANNE VEGA ยังเปิดคอนเสิร์ตได้อยู่ ไม่ได้ยินชื่อเธอมานาน 10 ปีแล้ว

มีอัลบัมของ SUZANNE VEGA อยู่สามชุด ซึ่งก็คือชุด

1.DAYS OF OPEN HAND (1990, A+)
ชอบเพลง THOSE WHOLE GIRLS (RUN IN GRACE) ในอัลบัมชุดนี้มากๆ
http://discography.vega.net/indexa.html

2.99.9 F (1992, A+)
ชอบเพลง IN LIVERPOOL ในอัลบัมชุดนี้มากๆ

3.NINE OBJECTS OF DESIRE (1996) งดให้เกรดเพราะยังไม่เคยฟังอัลบัมชุดนี้อย่างตั้งใจสักที

แต่รู้สึกตลกดีที่ SUZANNE VEGA ดูเหมือนจะโด่งดังที่สุดจากเพลงแดนซ์ ซึ่งก็คือเพลง TOM’S DINER ที่ถูกกลุ่มศิลปินในชื่อ DNA แอบนำไปรีมิกซ์โดยไม่ได้รับอนุญาต แต่พอ SUZANNE VEGA รู้เรื่องนี้ เธอก็ตัดสินใจไม่ฟ้องร้อง DNA แต่กลับร่วมงานกับ DNA จนประสบความสำเร็จเป็นอย่างดี

พูดถึงกรณีนี้แล้ว ก็ทำให้นึกถึงศิลปินรุ่นเก่าอีกหลายคนที่ตอนแรกไม่ได้ตั้งใจจะทำเพลงแดนซ์ แต่ก็โด่งดังมากๆเพราะเพลงแดนซ์ อย่างเช่น

1.MOLOKO ที่ดังเปรี้ยงเมื่อเพลง SING IT BACK ของวงนี้ได้รับการรีมิกซ์จนแดนซ์กระจาย

2.TORI AMOS กับเพลง PROFESSIONAL WIDOW ที่ถูก ARMAND VAN HELDEN นำมารีมิกซ์จนแทบไม่เหลือเค้าเดิมเลย

3.EVERYTHING BUT THE GIRL ที่ร้องเพลงช้าๆเป็นหลักมานานหลายปี แต่อยู่ดีๆพอเพลง MISSING ได้รับการรีมิกซ์เท่านั้นแหละ วงนี้ก็ผงาดขึ้นมาอีกครั้ง

4.ALISON MOYET ในช่วงกลางทศวรรษ 1990 ก็เลยต้องหันมาออกเพลงแดนซ์กับเขาด้วย นั่นก็คือเพลง WHISPERING YOUR NAME

5.CHER ก็กลับมาดังเปรี้ยงอีกครั้งได้ด้วยเพลง BELIEVE

6.CLANNAD ที่กลับมาดังอีกครั้งเมื่อร่วมงานกับ CHICANE ในเพลง SALTWATER

7.SARAH MCLACHLAN ตอนแรกก็ไม่ได้ทำเพลงแดนซ์ แต่ดูเหมือนเธอจะมาติดใจวงการเพลงแดนซ์กับเขาด้วยในเวลาต่อมา



ตอบน้อง VESPERTINE

ขอบคุณมากๆค่ะสำหรับรายชื่อผู้เข้าชิงรางวัลโลล่า ถ้าหากให้พี่เชียร์แล้ว พี่ขอเชียร์ HINNERK SCHOENEMANN (เกิดปี 1974) ให้ได้รับรางวัลดาราประกอบชายยอดเยี่ยมจาก EMMA’S BLISS ค่ะ สาเหตุก็เพราะว่า HINNERK SCHOENEMANN เป็นสามีลำดับที่ 269 ในรายชื่อที่พี่เคยทำเอาไว้เมื่อกลางปีที่แล้วค่ะ
http://xq28.net/s/viewtopic.php?t=11301

จริงๆแล้ว SYLVESTER GROTH ที่เข้าชิงรางวัลเดียวกับ HINNERK SCHONEMANN ก็เป็นดาราที่พี่ชอบสุดๆเช่นกัน โดยเฉพาะฝีมือทางการแสดงของเขา แต่เขาเป็นดาราที่เคยหล่อมากเมื่อ 10 ปีก่อน พี่ก็เลยไม่แน่ใจว่าสภาพของเขาในปัจจุบันนี้จะเป็นอย่างไรบ้าง

HINNERK SCHONEMANN ได้เล่นใน THE LIVES OF OTHERS (2006, FLORIAN HENCKEL VON DONNERSMARCK, A+) แต่พี่ไม่ทันสังเกตว่าเขาเล่นเป็นคนไหน แต่ถ้าจำไม่ผิด เขาน่าจะเล่นเป็นคนที่พูดจาล้อเลียนท่านผู้นำเยอรมันตะวันออกในโรงอาหาร จนถูกเพื่อนพระเอกข่มขู่ว่าจะลงโทษเขา และในเวลาต่อมาเขาก็ถูกลงโทษจริงๆด้วยการถูกส่งไปทำงานแยกพัสดุจดหมายในช่วงก่อนที่กำแพงเบอร์ลินจะล่มสลาย

ไม่แน่ใจเหมือนกันว่าดิฉันจำถูกคนหรือเปล่า เพราะว่า HINNERK SCHONEMANN ที่ดิฉันเคยดูใน MY BROTHER THE VAMPIRE (2001, SVEN TADDICKEN, A+) นั้นดูหล่อเหลาเอาการมากๆ แต่ตัวละครตัวนั้นใน THE LIVES OF OTHERS ไม่ได้ดูหล่อแบบเปล่งประกายมากนัก ถ้าหากตัวละครสองตัวนี้แสดงโดยคนๆเดียวกันจริงๆ ก็แสดงว่า HINNERK SCHONEMANN มีความสามารถทางการแสดงจริงๆ จนทำให้ดิฉันจำเขาแทบไม่ได้เลยว่าเป็นคนๆเดียวกัน คนที่ทั้งหล่อทั้งเก่งแบบนี้น่าเอาใจช่วยมากๆเลยค่ะ ฮ่าๆๆๆๆ

แต่ประหลาดใจจังว่าเมื่อ 2 ปีก่อน ดิฉันเคยพยายามหารูปของ HINNERK SCHONEMANN ทางอินเทอร์เน็ต แต่ก็หาไม่ได้ ตอนนี้ดิฉันก็ยังหารูปของเขาไม่ได้เหมือนเดิม ทำไมดาราหล่อๆอย่างเขาถึงหารูปทางเน็ตได้ยากนักนะ


คุณ FILMSICK เขียนถึงหนังเรื่อง CELINE AND JULIE GO BOATING ไว้ในลิงค์ข้างล่างนี้ค่ะ
http://www.bioscopemagazine.com/smf/index.php?topic=102.0


ขอกราบขอบพระคุณคุณ FILMSICK หนึ่งทีค่ะ ชอบมากๆค่ะกับงานเขียนชิ้นนี้

หนังฝรั่งเศสในทศวรรษ 1970 นั้น นอกจาก CELINE AND JULIE GO BOATING, EDEN AND AFTER และ INDIA SONG แล้ว หนังอีกเรื่องที่ดิฉันรู้สึกว่ามีการบิดระนาบของเรื่องเล่าได้อย่างเจ๋งเป้งมากๆ ก็คือ LE DOSSIER 51 (1978, MICHEL DEVILLE, A+) ค่ะ

รู้สึกว่า LE DOSSIER 51 จะยังหาซื้อดีวีดีไม่ได้ในประเทศไทย อย่างไรก็ดี ในกรุงเทพเคยมีดีวีดีหนังของ MICHEL DEVILLE เข้ามาขายอย่างน้อย 4 เรื่องค่ะ และแต่ละเรื่องก็มีวิธีการเล่าเรื่องที่ไม่ธรรมดา

ดีวีดีหนังของ MICHEL DEVILLE ที่มีขายในไทย

1.DEATH IN A FRENCH GARDEN (1985)



2.LE PALTOQUET (1986)
คุณ LUNAR ซึ่งเป็นเลขานุการิณีของคุณ FILMSICK มีดีวีดีหนังเรื่องนี้ค่ะ


3.LA LECTRICE (1988, A+)



4.ALMOST PEACEFUL (2002, A+)
ดีวีดีหนังเรื่องนี้อาจจะหาดูง่าย แต่เล่าเรื่องค่อนข้างธรรมดาที่สุดเมื่อเทียบกับหนังเรื่องอื่นๆของ MICHEL DEVILLE เพราะหนังเรื่องนี้เพียงแค่เล่าเรื่องของตัวละครหลายๆตัวที่รอดชีวิตจากสงครามโลกครั้งที่สองในสไตล์แบบหนังของ ROBERT ALTMAN


--เห็นคุณ FILMSICK ตั้งข้อสังเกตกับ “การบิดระนาบของเรื่องเล่า” วันนี้ดิฉันก็เลยลองลิสท์รายชื่อหนังที่ตัวเองชอบที่มีวิธีการเล่าเรื่องที่น่าสนใจค่ะ


1.หนังแนวเรื่องเล่าซ้อนเรื่องเล่า และหนังซ้อนหนัง โดยหนังหลายๆเรื่องในกลุ่มนี้ บางสิ่งบางอย่างใน “เรื่องที่ถูกเล่า” มักจะหลุดลอดออกมาข้องเกี่ยวกับชีวิตของตัวละครที่เล่าเรื่องด้วย

1.1 CELINE AND JULIE GO BOATING (1974, JACQUES RIVETTE, A+)
http://imdb.com/title/tt0071381/


1.2 THE SARAGOSSA MANUSCRIPT (1965, WOJCIECH HAS, A)
http://imdb.com/title/tt0059643/
http://ec1.images-amazon.com/images/P/B00005Y6YR.01._SS500_SCLZZZZZZZ_.jpg



1.3 HOTEL (2001, MIKE FIGGIS, A+)
http://ec1.images-amazon.com/images/P/B0009KA7A4.01._SS500_SCLZZZZZZZ_.jpg


1.4 TRISTAM SHANDY: A COCK AND BULL STORY (2005, MICHAEL WINTERBOTTOM, A+)
http://ec2.images-amazon.com/images/P/B000EOTFBW.01._SS500_SCLZZZZZZZ_.jpg


1.5 THE CAIMAN (2006, NANNI MORETTI, A+)


2.หนังที่เล่าเรื่องราวที่สามารถนำมาเรียงใหม่ได้เป็นเส้นตรง เพียงแต่หนังเลือกวิธีการเล่าเรื่องแบบสลับเวลาไปมา หรือเล่าเรื่องผ่านทางมุมมองของตัวละครทีละคน หนังแนวนี้มีเยอะมากๆ ตัวอย่างเช่น

2.1 RELATIVITY PLUS QUANTUM (2004, ZART TANCHAROEN, A+)

2.2 ลี้ (CHOOKIAT SAKVIRAKUL, A+)

2.3 A GIRL CALLED HERO หรือผู้ชนะ...สุดฤทธิ์ (WITCHA SUYARA, A+)

2.4 LOVEAHOLIC หรือโคตรรักเอ็งเลย (2006, พิง ลำพระเพลิง, A+)

2.5 THE POWER OF KANGWON PROVINCE (1998, HONG SANG-SOO, A+)
http://www.filmref.com/directors/dirpages/hong.html


3.หนังที่ผู้ชมไม่แน่ใจว่าส่วนไหนเป็นสิ่งที่เกิดขึ้นจริงกับตัวละคร และส่วนไหนอยู่ในจินตนาการหรืออยู่ในความฝันของตัวละคร หรืออยู่ในความฝันของตัวละครตัวไหนกันแน่


3.1 EDEN AND AFTER (1970, ALAIN ROBBE-GRILLET, A+)

3.2 JIM (2005, TOSSAPORN MONGKOL, A+)

3.3 UNFAITHFUL WIFE: SHAMEFUL TORTURE (1992, HISAYASU SATO, A+)
http://imdb.com/title/tt0105392/

3.4 RECONSTRUCTION (2003, CHRISTOFFER BOE, A+)
http://imdb.com/title/tt0366943/

3.5 LA MOUSTACHE (2005, EMMANUEL CARRERE, A+)
http://imdb.com/title/tt0428856/
http://ec2.images-amazon.com/images/P/B000JLTS3K.01._SS500_SCLZZZZZZZ_.jpg


4.หนังที่ดูเหมือนจะประกอบด้วยเรื่องแต่งย่อยๆหลายเรื่องที่ไม่เกี่ยวข้องกันมากนัก

4.1 THE PHANTOM OF LIBERTY (1974, LUIS BUNUEL, A+)
http://ec1.images-amazon.com/images/P/B0007WFYC0.01._SS500_SCLZZZZZZZ_.jpg

4.2 THE BURIED FOREST (2005, KOHEI OGURI, A+)
http://imdb.com/title/tt0461604/

4.3 OBABA (2005, MONTXO ARMENDARIZ, A+)
http://imdb.com/title/tt0397582/

4.4 A VIRUS KNOWS NO MORALS (1986, ROSA VON PRAUNHEIM, A+)
http://www.planetout.com/kiosk/popcornq/db/getfilm.html?811


4.5 THE DAY OF THE FULL MOON (1998, KAREN SHAKHNAZAROV, A+)
http://www.nitrateonline.com/1999/fsiff99-2.html#DayFullMoon




5. หนังที่เนื้อเรื่องเปลี่ยนไปเรื่อยๆในการฉายแต่ละครั้ง หรือหนังที่มีความแตกต่างไปจากเดิมเรื่อยๆในการฉายแต่ละครั้ง

5.1 L’EXPERIENCE PREHISTORIQUE (2005, CHRISTELLE LHEUREUX, A+)

CHRISTELLE LHEUREUX ถ่ายหนังยาวที่ไม่มีไดอาล็อกขึ้นมาเรื่องหนึ่ง และเมื่อหนังเรื่องนี้ไปฉายที่ประเทศใด ก็จะมีคนที่ได้รับเชิญให้มาแต่งเรื่องราวประกอบหนังเรื่องนี้ โดยในตอนที่มาฉายที่ไทยนั้น คุณปราบดา หยุ่นได้เป็นผู้แต่งเรื่องราวประกอบหนังเรื่องนี้ และแต่งให้เนื้อหาของหนังเกี่ยวกับชาวญี่ปุ่นที่ถูกจับเป็นตัวประกันในอิรัก


5.2 CROSS REFERENCE,35:27:02N/ 139:39:36E (2005-2007, CRAIG WALSH, A+)

หนังที่มาฉายที่หอกลางจุฬาเรื่องนี้มี 3 จอ และจอหนึ่งจะเป็นใบหน้าของผู้ชมที่กำลังเดินมาดูบ้านจำลองที่ตั้งอยู่ระหว่างจอทั้ง 3 นี้ ในขณะที่อีกสองจอบันทึกภาพใบหน้าของผู้ชมที่เคยมาดูหนังเรื่องนี้ในประเทศอื่นๆ เพราะฉะนั้นในขณะที่ มาดามเอมาดูหนังเรื่องนี้ มาดามเอก็จะได้เห็นใบหน้าของตัวเองปรากฏอยู่ในจอหนึ่งของหนังด้วย แต่พอมาดามบีมาดูหนังเรื่องนี้ มาดามบีก็จะได้เห็นใบหน้าของมาดามบีเอง หรือถ้ามาดามเอมาดูหนังซ้ำอีกรอบ มาดามเอก็จะได้เห็นหน้าของตัวเองในเวลานั้น และอากัปกิริยาของตัวเองในเวลานั้น ซึ่งต่างไปจากที่เคยดูในรอบที่แล้ว และเมื่อหนังเรื่องนี้ไปฉายในประเทศของมาดามซี มาดามซีก็จะได้เห็นใบหน้าของตัวเองในจอนึง และอาจจะได้เห็นใบหน้าของมาดามเอ หรือมาดามบีในอีกจอนึงด้วย (ไม่รู้บรรยายอย่างนี้พอเข้าใจหรือเปล่า จริงๆหนังเรื่องนี้มีอะไรซับซ้อนกว่านี้มาก แต่ขี้เกียจบรรยาย)


5.3 BETWEEN DARKNESS AND LIGHT (AFTER WILLIAM BLAKE) (2006, DOUGLAS GORDON)

หนังเรื่องนี้ฉายหนังสองเรื่องลงบนจอเดียวกัน แต่เนืองจากหนังสองเรื่องนี้มีความยาวไม่เท่ากัน เพราะฉะนั้นปฏิกิริยาระหว่างหนังสองเรื่องบนจอเดียวกันจึงแตกต่างกันไปเรื่อยๆในการวนฉายในแต่ละวัน เพราะในรอบแรกนั้น นาทีที่ 16 ของหนังเรื่องเอ จะตรงกับนาทีที่ 16 ของหนังเรื่องบี แต่พอหนังเรื่องเอจบ แต่หนังเรื่องบียังไม่จบ นาทีที่ 16 ในรอบที่ 2 ของหนังเรื่องเอ ก็อาจจะปรากฏตรงกับนาทีที่ 116 ในรอบแรกของหนังเรื่องบีบนจอเดียวกัน และจะเหลื่อมคลาดกันไปเรื่อยๆอย่างนี้


5.4 FOREST GROVE (2004, MAYA CHURI, A+)
http://forestgroveestates.com/
หนังทางอินเทอร์เน็ตเรื่องนี้ไม่ได้มีอะไรเปลี่ยนแปลงไปมากนักในการดูแต่ละรอบ แต่ผู้ชมบางคนอาจจะคลิกเข้าบ้านในลำดับก่อนหลังแตกต่างกันไปบ้าง บางคนอาจจะคลิกเข้าไปดูเหตุการณ์ในบ้าน C ก่อนบ้าน D แต่ผู้ชมบางคนอาจจะดูเหตุการณ์ในบ้าน D ก่อนบ้าน C เพราะฉะนั้นหนังเรื่องนี้จึงมี “ลำดับเหตุการณ์ที่เปลี่ยนแปลงได้บ้าง” ในการดูของผู้ชมแต่ละคน


6.หนังที่มีเนื้อเรื่องที่บางเบามากๆ

6.1 BEAU TRAVAIL (CLAIRE DENIS, A+)

6.2 CHASING BUTTERFLIES (1992, OTAR IOSSELIANI, A+)
http://www.filmref.com/directors/dirpages/iosseliani.html


6.3 THE CORRIDOR (1994, SHARUNAS BARTAS, A+)
http://filmref.com/journal/archives/2005/01/the_corridor_1995.html

6.4 DYING AT A HOSPITAL (1993, JUN ICHIKAWA, A+)
http://imdb.com/title/tt0202281/


6.5 OURS DOESN’T WORK (2003, IVAN WOLOVIK + NICOLAS ALVAREZ, A+)
ได้ข่าวว่าผู้กำกับอาร์เจนตินาของหนังเรื่องนี้ชื่นชม APICHATPONG WEERASETHAKUL มาก


7.หนังที่ดาราชื่อ A เล่นเป็น A
หรือเล่นเป็น “ตัวละครชื่อ A”
หรือเล่นเป็น “ตัวละครชื่อ B ที่เล่นเป็นตัวละครชื่อ A”

7.1 BEING JOHN MALKOVICH (1999, SPIKE JONZE, A+)

7.2 WES CRAVEN’S NEW NIGHTMARE (1994, WES CRAVEN, A+)


7.3 SEED OF CHUCKY (2004, DON MANCINI, A-)
http://imdb.com/title/tt0387575/


7.4 FULL FRONTAL (2002, STEVEN SODERBERGH, A+)

7.5 OCEAN’S TWELVE (2004, STEVEN SODERBERGH, A)

7.6 NOT ONE LESS (1999, ZHANG YIMOU, A+)

7.7 I AM A SEX ADDICT (2005, CAVEH ZAHEDI, A+)


8.หนังที่มีผู้บรรยายล่องหน และเสียงของผู้บรรยายในหนังหลายๆเรื่องในกลุ่มนี้ก่อให้เกิดความรู้สึกที่ก้ำกึ่งระหว่างเรื่องจริง, เรื่องแต่ง, หรือ “จุดยืน” ของผู้ชมที่มีต่อเหตุการณ์ในหนัง


8.1 INDIA SONG (MARGUERITE DURAS, A+)

8.2 A WALK THROUGH H: THE REINCARNATION OF AN ORNITHOLOGIST (1978. PETER GREENAWAY, A+)

8.3 RUSSIAN ARK (ALEXANDER SOKUROV, A+)

8.4 อวดดี (2003, SOMPOT CHIDGASORNPONGSE, A+)

8.5 A HALF LIFE OF CARBON 14 (2005, PUNLOP HORHARIN, A+)

8.6 NEWS FROM HOME (1977, CHANTAL AKERMAN, A+)
http://www.filmref.com/directors/dirpages/akerman.html



8.7 A PLACE AMONG THE LIVING (2004, RAOUL RUIZ, A)


8.8 LONDON (1994, PATRICK KEILLER, A)
http://imdb.com/title/tt0110377/


8.9 SANS SOLEIL (1983, CHRIS MARKER, A)

ที่ชอบ LONDON + SANS SOLEIL ในระดับแค่ A เป็นเพราะว่าทักษะการฟังของดิฉันแย่มาก ดังนั้นดิฉันจึงฟังแทบไม่ออกว่าเสียงบรรยายในหนังพูดถึงอะไรบ้าง ดิฉันได้ดูหนังสองเรื่องนี้ในเวอร์ชันที่มีเสียงบรรยายเป็นภาษาอังกฤษ แต่ไม่มีซับไตเติลขึ้นมาให้อ่าน



9.หนังที่ก้ำกึ่งระหว่างสารคดี/เรื่องแต่ง
9.1 THE BIRTH OF SEANEMA (2004, SASITHORN ARIYAVICHA, A+)

9.2 MYSTERIOUS OBJECT AT NOON (2000, APICHATPONG WEERASETHAKUL, A+)

9.3 LIFE IS SHORT 2 (2006, TOSSAPOL BOONSINSUKH, A+)

9.4 SPECTRE: 16 YEARS LATER (2006, PRAP BOONPAN, A+)

9.5 TO INFINITY AND BEYOND (2004, SOMPOT CHIDGASORNPONGSE, A+)

9.6 SLEEPING BEAUTY (2006, CHULYANON SIRIPHOL, A+)

9.7 VACANCY (1999, MATTHIAS MUELLER, A+)

9.8 REALTIME (1983, HELLMUTH COSTARD + JUERGEN EBERT, A+)

9.9 MRS. BLACKBURN, BORN 5 JAN 1872, IS BEING FILMED (1967, ALEXANDER KLUGE, A+)
http://imdb.com/title/tt0061684/

9.10 FATA MORGANA (1971, WERNER HERZOG, A+)
http://imdb.com/title/tt0067085/

9.11 THE MIRROR (1997, JAFAR PANAHI, A+)



10. หนังที่เล่าเรื่องแต่ง แต่ไม่ได้เล่าในแบบธรรมดา อย่างเช่นหนังของ PETER GREENAWAY, DEREK JARMAN, ULRIKE OTTINGER, ALEJANDRO JODOROWSKY, PETER WATKINS

10.1 THE DEATH OF MARIA MALIBRAN (1972, WERNER SCHROETER, A+)


10.2 HITLER: A FILM FROM GERMANY (1978, HANS-JUERGEN SYBERBERG, A+)


10.3 HAUNTED HOUSES (2001, APICHATPONG WEERASETHAKUL, A+)


10.4 THE FALSE SERVANT (2000, BENOIT JACQUOT, A+)


10.5 GOLDEN SAND HOUSE (2006, CHULYANON SIRIPHOL, A+)



ตอบคุณคนมองหนัง

ไม่มีอะไรมาแลกเปลี่ยนค่ะ พอดีดิฉันเพิ่งมีเวลาอ่านจบ ก็เลยขอแวะเข้ามา
กราบคุณคนมองหนังหนึ่งทีด้วยความทึ่งมากๆ และขอขอบคุณมากๆสำหรับความรู้อะไรหลายๆอย่างที่ได้รับจากงานเขียนของคุณคนมองหนัง สิ่งที่คุณคนมองหนังเขียนส่วนใหญ่แล้วเป็นสิ่งที่ดิฉันไม่มีพื้นเพความรู้ทางด้านนั้นเลยค่ะ ดังนั้นก็เลยไม่รู้จะคุยอะไรดี แต่ก็ดีใจมากๆที่ได้รับความรู้จากการอ่านสิ่งที่คุณเขียน

สำหรับละครทีวีไทยที่คุณคนมองหนังกล่าวถึงนั้น ดิฉันไม่ได้ดูเลยค่ะ และก็รู้สึกตลกดีที่พบว่าตัวเองแทบไม่มีความรู้อะไรเลยเกี่ยวกับสงครามเก้าทัพ ลองนึกทบทวนความทรงจำตัวเองดูแล้ว พบว่าตัวเองแทบไม่เคยสนใจดูละครทีวีย้อนยุคของไทยแนวรบๆพุ่งๆเลยในวัยเด็ก ถ้าหากพูดถึงความทรงจำของตัวเองเกี่ยวกับการรบๆพุ่งๆในวัยเด็ก ตัวเองก็มักจะนึกถึงชาวฮั่น, แผ่นดินซ้อง, มองโกล, ชาวกิม หรืออะไรทำนองนี้มากกว่า เพราะตอนเด็กติดละครทีวีฮ่องกงแนวกำลังภายในค่ะ

ชอบสิ่งที่คุณคนมองหนังเขียนเกี่ยวกับ “ขุนเดช” (ดี๋ ดอกมะดัน) มากเลยค่ะ เพราะขณะที่ดิฉันดูหนังเรื่องนี้ ดิฉันก็สงสัยตอนฉากที่ขุนเดชถูกลงโทษว่าเขาทำอะไรผิดด้วยหรือ ทำไมเขาถึงถูกลงโทษหนักขนาดนั้น หรือว่าเราดูไม่ทัน, ดูแล้วไม่เข้าใจ หรือจำไม่ได้เองว่าเขาทำผิดอะไร เพราะการที่เขาไม่อยากกลับประเทศด้วย มันก็ไม่น่าจะเป็นความผิดอะไรร้ายแรงนี่นา

แต่พออ่านสิ่งที่คุณคนมองหนังเขียน ก็ทำให้เข้าใจว่าตัวเองคงไม่ได้ดูพลาดไป

ดิฉันชอบภาคแรกมากกว่าภาคสองค่ะ ไม่แน่ใจเหมือนกันว่าเป็นเพราะอะไร แต่สาเหตุส่วนหนึ่งอาจจะเป็นเพราะว่า ดิฉันไม่มีอารมณ์ร่วมแต่อย่างใดกับตัวละครพระราชมนูในหนังเรื่องนี้ ดังนั้นก็เลยไม่ได้รู้สึกอะไรมากนักกับหนังภาคสอง

ดิฉันมักจะชอบหนังโดยยึดถือการมีอารมณ์ร่วมกับตัวละครเป็นหลักค่ะ และในช่วงแรกๆของปีนี้ ดิฉันก็พบว่ามีหนังอย่างน้อย 2 เรื่องที่ดิฉันไปมีอารมณ์ร่วมกับตัวละครประกอบ มากกว่าตัวละครหลัก และนั่นก็เลยอาจจะเป็นสาเหตุที่ทำให้ดิฉันไม่ได้ชอบหนังเรื่องนั้นมากถึงขั้น A+ โดยหนังสองเรื่องนี้ก็คือ CURSE OF THE GOLDEN FLOWERS (A-) ที่ดิฉันมีอารมณ์ร่วมแค่กับตัวละครฮูหยินหมอหลวงเท่านั้น กับ THE QUEEN (A) ที่ดิฉันมีอารมณ์ร่วมเฉพาะกับตัวละครเชอรี่ แบลร์เท่านั้น ดิฉันก็เลยไม่ได้รู้สึกชอบหนังสองเรื่องนี้อย่างสุดๆ ทั้งๆที่หนังสองเรื่องนี้มีเนื้อหาดีมากๆ แหะๆๆ

NO OUTSIDERS

วันนี้ขอเขียนสั้นๆก่อนนะคะเพราะช่วงนี้ต้องทำงานติดต่อกัน 10 วัน เอาไว้มีโอกาสลืมตาอ้าปากเมื่อไหร่จะมาเขียนตอบยาวๆอีกที


ตอบคุณ filmsick

พอดีวันนี้ร้านเน็ตคาเฟ่ที่ใช้อยู่ โหลด YOUTUBE ไม่ค่อยได้ค่ะ ก็เลยยังไม่สามารถดูคลิปที่คุณแนะนำได้

แต่พอได้ยินเพลง JE T’AIME MOI NON PLUS แว่บๆแล้วก็นึกถึงหนังเรื่อง JE T’AIME MOI NON PLUS หรือ I LOVE YOU, I DON’T (1976, SERGE GAINSBOURG) ที่อยากดูมากๆค่ะ เคยเห็นดีวีดีหนังเรื่องนี้มีขายที่สีลมด้วย แต่ดูจากปกที่เขาเอามาโชว์แล้ว ปกไม่บอกว่าหนังมีซับไตเติลภาษาอังกฤษ ก็เลยไม่กล้าซื้อมาดู เพราะดีวีดีหนังฝรั่งเศสหลายเรื่องที่สีลมไม่มีซับไตเติลภาษาอังกฤษมาให้ เวลาซื้อต้องดูให้ดีๆ (แต่ได้ยินมาว่าตอนนี้ร้านดีวีดีที่สีลมหายไปหลายร้าน ไม่รู้ว่าจริงหรือเปล่า)

เรื่องย่อ JE T’AIME MOI NON PLUS
The petite waitress Johnny works and lives in a truck-stop, where she's lonely and longs for love. She develops a crush on the garbage truck driver Krassky, although her sleazy boss Boris warns her that he's gay. Maybe because of her boyish looks, Krassky likes her too. Both don't notice the growing jealousy of Krassky's boyfriend Padovan - until an escalation.

http://ec2.images-amazon.com/images/P/B000088G0U.01._SS400_SCLZZZZZZZ_.jpg



--พูดถึงระบบการศึกษาในอังกฤษแล้ว เมื่อเร็วๆนี้ได้ยินข่าวที่ทำให้ดิฉันดีใจอย่างที่สุด นั่นก็คือว่าตอนนี้โรงเรียนประถมในอังกฤษมีโครงการ NO OUTSIDERS ซึ่งก็คือโครงการสอนเทพนิยายเกย์ให้เด็กๆชั้นประถม เพื่อปลูกฝังให้เด็กๆเติบโตขึ้นมาเป็นคนที่ไม่เหยียดหยามหรือดูถูกเกย์ โดยโครงการ NO OUTSIDERS นี้ได้ชื่อโครงการมาจาก ARCHBISHOP DESMOND TUTU ที่กล่าวว่า
http://www.upenn.edu/pennnews/article.php?id=242

God says, I have a dream, that all of you my children will realize that you belong in one family. This is a family in which there are no outsiders; all are insiders.


สำหรับหนังสือเทพนิยายเกย์ที่เอามาสอนเด็กๆชั้นประถมนั้น ก็มีเช่นเรื่อง

1.KING AND KING ของ LINDA DE HAAN + STERN NIJLAND ซึ่งมีเนื้อหาเกี่ยวกับเจ้าชายที่ไม่ต้องการแต่งงานกับเจ้าหญิง แต่ต้องการแต่งงานกับเจ้าชายด้วยกันเอง

http://www.amazon.com/King-Linda-Haan/dp/1582460612/ref=pd_bbs_1/002-2810255-2776035?ie=UTF8&s=books&qid=1174152063&sr=8-1

http://ec1.images-amazon.com/images/P/1582460612.01._SS500_SCLZZZZZZZ_.jpg

When a grouchy queen tells her layabout son that it's time for him to marry, he sighs, "Very well, Mother.... I must say, though, I've never cared much for princesses." His young page winks. Several unsatisfactory bachelorettes visit the castle before "Princess Madeleine and her brother, Prince Lee" appear in the doorway. The hero is smitten at once. "What a wonderful prince!" he and Prince Lee both exclaim, as a shower of tiny Valentine hearts flutters between them.


2.AND TANGO MAKES THREE ของ PETER PARNELL + JUSTIN RICHARDSON

หนังสือนิทานเล่มนี้ดัดแปลงมาจากเรื่องจริงเกี่ยวกับนกเพนกวินเกย์คู่หนึ่งที่ครองรักกันในสวนสัตว์ในนิวยอร์ค

http://www.amazon.com/Tango-Makes-Three-Peter-Parnell/dp/0689878451/ref=pd_bbs_sr_2/002-2810255-2776035?ie=UTF8&s=books&qid=1174152352&sr=1-2
http://ec2.images-amazon.com/images/P/0689878451.01._SS500_SCLZZZZZZZ_.jpg

This tale based on a true story about a charming penguin family living in New York City's Central Park Zoo will capture the hearts of penguin lovers everywhere. Roy and Silo, two male penguins, are "a little bit different." They cuddle and share a nest like the other penguin couples, and when all the others start hatching eggs, they want to be parents, too.

Determined and hopeful, they bring an egg-shaped rock back to their nest and proceed to start caring for it. They have little luck, until a watchful zookeeper decides they deserve a chance at having their own family and gives them an egg in need of nurturing. The dedicated and enthusiastic fathers do a great job of hatching their funny and adorable daughter, and the three can still be seen at the zoo today. Done in soft watercolors, the illustrations set the tone for this uplifting story, and readers will find it hard to resist the penguins' comical expressions. The well-designed pages perfectly marry words and pictures, allowing readers to savor each illustration. An author's note provides more information about Roy, Silo, Tango, and other chinstrap penguins. This joyful story about the meaning of family is a must for any library.


แน่นอนว่าโครงการดีๆอย่างโครงการ NO OUTSIDERS นี้ ย่อมต้องได้รับการต่อต้านจากผู้ปกครองบางคนและองค์การทางศาสนาบางองค์การในอังกฤษ

รายละเอียดของโครงการนี้
http://www.nooutsiders.sunderland.ac.uk/about-the-project