Sunday, November 30, 2014

FAVORITE OLD FRENCH FILMS

Favorite Old French Films

A friend asked me a few months ago to recommend her some old French films, excluding the very famous ones, such as the ones directed by Jean Renoir, Max Ophuls, Jean Vigo, Abel Gance, Henri-Georges Clouzot, Jean Cocteau, Georges Franju, etc. So here is my list:

(in alphabetical order)

1.BEAUTY AND THE DEVIL (1950, René Clair)
2.CARREFOUR (1938, Curtis Bernhardt)
3.THE CASE OF DR. LAURENT (1957, Jean-Paul Le Chanois)
4.CHRISTINE (1958, Pierre Gaspard-Huit)
5.CRÉSUS (1960, Jean Giono)
6.DILEMMA OF TWO ANGELS (1948, Maurice Tourneur)
7.DOUCE (1943, Claude Autant-Lara)
8.JOY HOUSE (1964, René Clément)
9.JUSTINE DE MARSEILLE (1935, Maurice Tourneur)
10.LADY CHATTERLEY’S LOVER (1955, Marc Allégret)
11.THE LAST OF THE SIX (1941, Georges Lacombe)
12.THE LITTLE BATHER (1968, Robert Dhéry)
13.MACADAM (1946, Jacques Feyder + Marcel Blistène)
14.PARIS FRILLS (1945, Jacques Becker)
15.POIL DE CAROTTE (1925, Julien Duvivier)
16.THE PRESIDENT (1961, Henri Verneuil)
17.THE PRINCESS OF CLEVES (1961, Jean Delannoy)
18.RAZZIA IN PARIS (1955, Henri Decoin)
19.REGAIN (1937, Marcel Pagnol)
20.RIPTIDE (1949, Yves Allégret)
21.STAR WITHOUT LIGHT (1946, Marcel Blistène)
22.SUCH A LONG ABSENCE (1961, Henri Colpi)
23.SUMMER LIGHT (1943, Jean Grémillon)
24.UN TAXI POUR TOBROUK (1961, Denys de la Patellière)
25.THÉRÈSE RAQUIN (1953, Marcel Carné)
26.UNE VIE (1958, Alexandre Astruc)

RETURN OF SUSPICION (2014, Dean Kavanagh, Ireland, 93min, A+30)


RETURN OF SUSPICION (2014, Dean Kavanagh, Ireland, 93min, A+30)

SPOILERS ALERT
--
--
--
--
--

What I think about this film:

1.It is easily one of the most beautiful films I saw this year. What I like very much in this film is its extremely poetic quality. It is like HISTORY OF WATER (2012) and A HARBOUR TOWN (2013), two previous feature films of Dean Kavanagh, in the way that it seems to tell no obvious stories at all. I feel “wonderfully lost” watching three films. I mean because these three films have no “narratives” or “stories” that I can cling on to, I feel “lost”. I feel as if I was drifting in strange, unpredictable currents of sound and images. I don’t know what is happening. Many times I don’t know what is depicted on the screen. I can’t predict what will happen in the future. All I can do is experiencing the sound and images of the film. And experiencing them yields a truly wonderful feeling.

I admire Kavanagh very much for these three films’ uncompromising quality. To make films as uncompromising as these, the filmmaker must be very strong-willed. Kavanagh is now one of my most favorite contemporary filmmakers. I like him as much as I like Rouzbeh Rashidi and Raya Martin. There are not many filmmakers I know who still keep on making extremely experimental feature films like this.

I admire Kavanagh not only because his films are uncompromising, but also because he is very talented. It might be easy to make a non-narrative film, or a film which tells no stories. It might be easy to place some random images next to each other.  But if you are not talented, the film you make can feel so flat, so boring, so uninspiring, or so pretentious. However, it is extremely difficult to make a poetic film which can make the viewers feel some kinds of indescribable or sublime feelings like these.

2. Talking about talent, I think this film shows that Kavanagh is very talented as a director, a cinematographer, and an editor. The film is very powerful for me, but its power does not come from the story or the performances, but comes from the beautiful, enigmatic images, and how these images are placed together.

There are so many gorgeous images in this film. Some of them are very much like paintings. One of the most beautiful images in this film is the one in which we see a reflection of drifting clouds on a woman’s face.

As for the editing, I like the fast editing in some scenes, including the first time we see the image of a girl flashing for a second on the screen, or the first time we see the image of the radiance of the sun in a forest flashing for a second on the screen, before the scene is cut to the next sequence. The fast editing near the end of the film is brilliant, too.

3. Though the film seems to tell no stories, I think the film has “a climax” for me. And its climax is in the minutes 55-60, when we see the image of a woman on a boat, a man on a train, and a woman on a train alternately. The film cuts back and forth between these three images very fast, and it gives me a kind of climax or orgasm. But don’t ask me what this scene means. I just know that it overwhelms me completely. And I think its power comes from the talent of Kavanagh as an editor, a cinematographer, and a poetic filmmaker.

4. Though I don’t know what the film is trying to tell or convey, some images or some scenes in this film inspire me to imagine some stories in my head, though I can’t imagine one single story which can cover all the scenes in this film.

This film inspires many stories in my head. For example, I think about a murder story after I saw the scene in which we see a dog walking around a moving hand which later stops moving. Is the owner of that hand murdered? Who is that figure walking around in a forest and trying to evade from other people? Are there some myterious stories or secrets in this village? Why do some characters seem to search for something or some clues in an abandoned, dilapidated house? Is the scene starring Rouzbeh Rashidi and Maximilian Le Cain a flashback of what happened in that mysterious house? Are there some kinds of dark power or mysterious ghosts in the forest? The film inspires me to imagine some stories which share some elements with TWIN PEAKS: FIRE WALKS WITH ME (1992, David Lynch) and DREILEBEN: ONE MINUTE OF DARKNESS (2011, Christoph Hochhäusler), because these two films present some mysterious forests, too.

As for what is shown near the end of the film, it inspires me to imagine a story about the construction of a golf course which leads to the destruction of a forest. Hahaha. Because the film shows some images of a cartoon character playing golf, and juxtaposes it with some vulgar scenes of people having sex, it seems to stand in contrast with the scene in which we see a man caressing a tree tenderly. And in Thailand we used to have some problems with the construction of some golf courses, so these scenes inspire me to think about some environmentalist stories like that, though I know that is not the purpose of this film. Hahaha.

Though I can’t help imagining some stories while watching some scenes, what I like the most in this film are not these stories in my head. What I like the most is what I have said before—the feeling of being lost in a forest of strange but wonderful images.

5. I like the extreme close-up in some scenes very much, because I don’t know what is being shown in these scenes.

6.Another scene which I like very much is the scene in which we see two characters play with the shadow of a tennis racket or a badminton racket. It is very strange, beautiful, and eerie. It makes me imagine that these characters might be searching for a treasure or might be invoking a spirit.

7. It is very difficult to think about a film which has something similar to RETURN OF SUSPICION, because this film is very strange. However, if I have to screen this film together with a film by another filmmaker, I may choose to screen it together with some apocalyptic films made by Teeranit Siangsanoh, because in Teeranit’s films, we sometimes see characters wandering around in an old, dilapidated house, searching for something which we don’t know, too.



Saturday, November 29, 2014

FAVORITE SLASHER FILMS

FAVORITE SLASHER FILMS

มีเพื่อนขอให้แนะนำหนัง slasher films เราก็เลยทำลิสท์นี้ขึ้นมาจ้ะ

IN ALPHABETICAL ORDER

1.ANGUISH (1987, Bigas Luna, Spain)

2.BLACK CHRISTMAS (1974, Bob Clark)

3.CAPTIVITY (2007, Roland Joffé)

4.DRESSED TO KILL (1980, Brian de Palma)

5.FRENZY (1972, Alfred Hitchcock)

6.THE GUARD FROM UNDERGROUND (1992, Kiyoshi Kurosawa)

7.HALLOWEEN II (1981, Rick Rosenthal)

8.KRISTY (2014, Oliver Blackburn)

9.THE LAST HOUSE ON THE LEFT (1972, Wes Craven)
ชอบหนังชุด SCREAM ของ Wes Craven มากๆด้วยเหมือนกัน

10.MURDERER (2009, Chow Hin Yeung Roy)

11.OFFICE KILLER (1997, Cindy Sherman)

12.PAIN (1994, Eric Khoo, Singapore)

13.PEEPING TOM (1960, Michael Powell)

14.PHENOMENA (1985, Dario Argento)
ชอบเรื่อง DEEP RED (1975), TRAUMA (1993) กับ THE STENDHAL SYNDROME (1996) ของ Dario Argento มากๆด้วยเหมือนกัน

15.PICK ME UP (2006, Larry Cohen)

16.THE RED QUEEN KILLS 7 TIMES (1972, Emilio Miraglia, Italy)

17.THE SILENCE OF THE LAMBS (1990, Jonathan Demme)

18.SHOKUNIN (2014, Nuttachai Jiraanont)

19.SOMBRE (1998, Philippe Grandrieux, France)

20.THE SPIDER BABY (1967, Jack Hill)

21.THESIS (1996, Alejandro Amenábar, Spain)

22.TOOLBOX MURDERS (2004, Tobe Hooper)
ชอบ THE TEXAS CHAINSAW MASSACRE (1974, Tobe Hooper) มากๆด้วยเหมือนกัน

23.TRAPPED (1989, Fred Walton)

24.THE WITCH (2009, Alwa Ritsila + Phattamon Chitarachinda)

25.WOLF CREEK (2005, Greg Mclean, Australia)


FAVORITE FILMS ABOUT SERIAL KILLERS, MASS MURDERERS, PSYCHOPATHS
หนังกลุ่มนี้พูดถึงฆาตกรโรคจิต แต่ไม่ใช่หนังสยองขวัญ

1.AMERICAN PSYCHO (2000, Mary Harron)

2.L’ARGENT (1983, Robert Bresson, France)

3.BAISE-MOI (2000, Virginie Despentes + Coralie Trinh Thi, France)

4.LE BOUCHER (1970, Claude Chabrol, France)

5.BREMEN FREEDOM (1972, Rainer Werner Fassbinder, West Germany)

6.CRONICAS (2004, Sebastián Cordero, Mexico)

7.FUNNY GAMES (1997, Michael Haneke, Austria)

8.HENRY: PORTRAIT OF A SERIAL KILLER (1986, John McNaughton)

9.I, PIERRE RIVIÈRE, HAVING SLAUGHTERED MY MOTHER, SISTER AND BROTHER... (1976, René Allio, France)

10.M (1931, Fritz Lang, Germany)

11.MONSTER (2003, Patty Jenkins)

12.NATURAL BORN KILLERS (1994, Oliver Stone)

13.NO COUNTRY FOR OLD MEN (2007, Ethan Coen + Joel Coen)

14.NOTHING CAN TOUCH ME (2011, Milad Alami)

15.ROBERTO SUCCO (2001, Cédric Kahn, France)

16.RUNNING SCARED (2006, Wayne Kramer)
มีสองผัวเมียฆาตกรโรคจิตเป็นตัวประกอบอยู่ในหนังเรื่องนี้ และเป็นตัวประกอบที่น่ากลัวมากๆ

17.SALO, OR 12 DAYS OF SODOM (1975, Pier Paolo Pasolini, Italy)

18.SPIDER (2002, David Cronenberg)

19.TENDERNESS (2009, John Polson)

20.VENGEANCE IS MINE (1979, Shohei Imamura)

21.VIOLENCE AT NOON (1966, Nagisa Oshima)

The photo comes from SOMBRE, which is one of my most favorite films of all time.



Friday, November 28, 2014

THE HUNDRED-FOOT JOURNEY (2014, Lasse Hallström, A+25)

THE HUNDRED-FOOT JOURNEY (2014, Lasse Hallström, A+25)

SPOILERS ALERT
--
--
--
--
--
ความรู้สึกที่มีต่อหนังเรื่องนี้
1.ดูแล้วนึกถึง HACHI: A DOG’S TALE (2009, A+30) ของผู้กำกับคนเดียวกัน ในแง่ที่ว่า หนังสองเรื่องนี้เป็นหนังแนวที่เราเกลียด แต่ผู้กำกับสามารถทำมันให้ออกมาในแบบที่ทำให้เรารู้สึกดีกับมันมากๆ ซึ่งเราก็ต้องยกความดีความชอบให้กับผู้กำกับจริงๆ

คือ HACHI: A DOG’S TALE เป็นหนังเกี่ยวกับหมาที่จงใจเรียกน้ำตาผู้ชมน่ะ แต่เราเกลียดหมา และโดยปกติแล้วเราก็เกลียดหนังที่จงใจเรียกน้ำตาผู้ชมด้วย (อย่างเช่น THE LETTER ของผอูน จันทรศิริ) แต่ปรากฏว่า HACHI ประสบความสำเร็จในการทำให้เราร้องไห้ได้จริงๆ เราร้องไห้ในฉากที่ Joan Allen เดินมาที่สถานีแล้วพบว่าหมาฮาชิยังมารอริชาร์ด เกียร์อยู่ ทั้งๆที่ริชาร์ด เกียร์ตายไปสิบปีแล้วหรืออะไรทำนองนี้ ถ้าจำไม่ผิด

ส่วน THE HUNDRED-FOOT JOURNEY เป็นหนังโลกสวย สูตรสำเร็จมากๆ บางฉากในหนังเรื่องนี้นึกว่าโฆษณา มีการถ่ายภาพสวยๆ จังหวะสโลว์โมชั่นเล็กน้อย ผู้คนยิ้มระรื่น เหตุการณ์ร้ายแรงต่างๆในเรื่องไม่ได้ถูกขยี้อารมณ์ในทางลบมากเท่าที่ควร อย่างเช่นการที่แม่พระเอกถูกไฟคลอกตาย คือถ้าเป็นในหนังโดยทั่วไปแล้ว ตัวละครในครอบครัวนี้คงจะ trauma มากๆไปจนจบเรื่อง แต่หนังกลับแทบไม่ได้นำเสนอ trauma ของครอบครัวนี้ที่มีต่อเหตุการณ์ในอินเดียเลย มันเหมือนกับว่าเหตุการณ์ที่แม่ถูกไฟคลอกตายเพราะเหตุผลทางการเมืองเป็นสิ่งที่พวกเขาสามารถลืมได้โดยง่าย ยกเว้นเพียงแต่ตัวพ่อเท่านั้น

คือตามหลักเหตุผลแล้ว เราควรจะเกลียดหนังเรื่องนี้มากๆน่ะ เพราะโดยปกติแล้วเราชอบหนัง feel bad มากกว่า แต่เรากลับพบว่าเราแทบไม่รู้สึกต่อต้านหนังเรื่องนี้เลย เราก็เลยรู้สึกว่า Lasse Hallström แม่งเก่งจริงๆ ที่สามารถทำให้เราชอบในสิ่งที่โดยปกติแล้วเรามักจะเกลียดได้

2.จุดที่เราซึ้งมากๆในช่วงกลางเรื่อง ก็คือการกระทำของ Madame Mallory (Helen Mirren) น่ะ เราชอบตัวละครที่มีจริยธรรมแบบนี้ หรือตัวละครที่ดูเหมือนนางมารร้ายแต่จริงๆแล้วเป็นคนดีน่ะ (เพราะเราเกลียดพวก “คนดี” ที่จริงๆแล้วแม่งเหี้ย) คือถึงแม้ว่า Madame Mallory จะเป็นคนไม่ดี กลั่นแกล้งคู่แข่งด้วยวิธีการต่างๆ แต่พอเกิดเหตุการณ์บางอย่างขึ้น มันก็ทดสอบเธอได้ว่า จริงๆแล้วธาตุแท้เธอเป็นคนอย่างไร จุดนี้ของหนังก็เลยทำให้เราชอบหนังเรื่องนี้มากๆ

3.อีกสาเหตุหนึ่งที่ทำให้เราชอบหนังเรื่องนี้มากๆ เพราะเราเอามันไปเปรียบเทียบกับ WHIPLASH (2014, Damien Chazelle, A+25) น่ะ คือเราไม่อินกับ WHIPLASH เพราะเราไม่อินกับตัวละครที่ “อยากโด่งดัง” น่ะ แต่เราชอบพระเอกของ WHIPLASH ในแง่ที่ว่าเป็นคน “ตั้งใจจริงในการทำงาน” นะ คือเราชอบคนที่ขยันขันแข็ง, เอาจริงเอาจัง, มุ่งมั่นในการทำงานมากๆ แต่เราจะชอบคนที่ “ตั้งใจทำงาน” เพราะ “รักงานที่ทำ” แต่ไม่ใช่คนที่ตั้งใจทำงานเพราะกูจะได้อยู่เหนือคนอื่นๆน่ะ คือเราจะไม่ชอบคนที่ “อยากโด่งดัง”, “อยากได้รางวัล” หรือ “อยากเป็นที่หนึ่ง” หรือคนที่ competitive มากๆ มองคนอื่นๆเป็นคู่แข่งหรือเป็นศัตรูตลอดเวลา เพราะฉะนั้นเราก็เลยไม่อินกับ WHIPLASH เท่าไหร่ คือในชีวิตจริงคนเรามันต้องแข่งขันกันเพื่อความอยู่รอดก็จริง เพราะฉะนั้นการมุ่งมั่นเพื่อจะเอาชนะเพื่อ “ความอยู่รอด” มันก็เลยเป็นสิ่งที่เรายอมรับได้ แต่การมุ่งมั่นเพื่อจะเอาชนะเพื่อ “กูจะได้เป็นที่หนึ่ง” มันเป็นสิ่งที่เราไม่อินด้วยน่ะ คือถ้าทำเพื่อความอยู่รอด เราโอเค แต่ถ้าทำเพื่อความโด่งดัง เราไม่โอเค

ในทางตรงกันข้าม พระเอกของ THE HUNDRED-FOOT JOURNEY จะเข้าทางเรามากกว่า คือเป็นคนที่ตั้งอกตั้งใจในการทำงาน เพราะรักงานที่ทำ มากกว่าเป็นเพราะว่าเขากระเหี้ยนกระหือรือที่จะโด่งดังซะเหลือเกิน

แต่ตัวละครประเภทที่เราชอบที่สุด ก็คือตัวละครที่ไม่สนใจการแข่งขันอะไรอีกต่อไป ซึ่งก็คือนางเอกของหนังเรื่อง WORLDMASTER (1994, Zoran Solomun, Germany, A+30) กับนางเอกของหนังเรื่อง STRONG SHOULDERS (2003, Ursula Meier, Switzerland, A+30) นางเอกของหนังเรื่อง WORLDMASTER ต้องแข่งขันเล่นดนตรีบนเวที แต่เธอกลับนั่งเฉยๆ ไม่ยอมเล่นดนตรีบนเวที เพราะสภาพจิตเธอไม่ไหวอีกต่อไป (ถ้าจำไม่ผิด) ส่วนนางเอกของหนังเรื่อง STRONG SHOULDERS เป็นเด็กสาววัยรุ่นที่ต้องการจะชนะการแข่งขันวิ่งแข่ง เธอก็เลยพยายามจะมีเซ็กส์กับนักกีฬาหนุ่มหล่อ เพราะเธอเชื่อว่า ถ้าเธอตั้งครรภ์ขณะลงแข่งขัน ฮอร์โมนเพศหญิงเธอจะพุ่งสูง และจะทำให้เธอวิ่งได้เร็วขึ้น แล้วพอเธอชนะการแข่งขัน เธอค่อยไปทำแท้ง อย่างไรก็ดี ในที่สุดเธอก็ตัดสินใจไม่ลงแข่งขัน และหันไปวิ่งเล่นในทุ่งหญ้าแทน

สรุปว่าความ competitive ของตัวละครเป็นปัจจัยสำคัญที่ทำให้เราอินกับหนังแต่ละเรื่อง ตัวละครใน WHIPLASH มีความ competitive สูงมาก เราก็เลยอินน้อย ตัวละครใน THE HUNDRED-FOOT JOURNEY มีความ competitive ในระดับปานกลาง (หมายถึงตัว Madame Mallory ด้วย) เราก็เลยอินมากขึ้น ส่วนตัวละครใน WORLDMASTER กับ STRONG SHOULDERS พบว่าตัวเองไม่ต้องการแข่งขันเหี้ยอะไรอีกต่อไปแล้วทั้งนั้น เราก็เลยอินกับหนังสองเรื่องนี้อย่างรุนแรงที่สุด

4.แต่สาเหตุที่ทำให้เราไม่ชอบ THE HUNDRED-FOOT JOURNEY ในระดับ A+30 เพราะเราไม่อินกับ “ความผูกพันกับบ้านเก่า” ของพระเอกน่ะ คือพระเอกในหนังเรื่องนี้ได้กินอาหารอินเดีย แล้วก็เลยนึกถึงบ้านเก่า อยากกลับมาอยู่กับคนในครอบครัว หรืออะไรทำนองนี้ ซึ่งเราจะไม่อินกับตัวละครประเภทนี้อย่างรุนแรงมากๆจ้ะ

คุณสมเกียรติ ชินตระกูลวัฒนะ เขียนถึงหนังเรื่องนี้ไว้ในนิตยสาร FLICKZ เล่มสองด้วยนะ (นิตยสารที่แจกฟรีตามโรงหนัง) เผื่อถ้าใครอยากอ่านบทวิจารณ์อื่นๆเกี่ยวกับหนังเรื่องนี้ ก็ลองอ่านใน FLICKZ ได้



1448 LOVE AMONG US

1448 LOVE AMONG US รักเรา...ของใคร (2014, Arunsak Ongla-or, A+)

รู้สึกว่าหนังมีอะไรประดักประเดิดเยอะมาก แต่จุดประสงค์ของหนังดีมาก คือหนังเรื่องนี้สร้างขึ้นมาเพื่อผลักดันให้มีการแก้ไขกฎหมายน่ะ ซึ่งเรารู้สึกว่าเราแทบไม่เคยเจอหนังยาวของไทยที่สร้างขึ้นมาเพื่อจุดประสงค์นี้เลย

หนังที่ใกล้เคียงกันที่เราเจอ ส่วนใหญ่จะเป็นหนังฝรั่งที่สร้างขึ้นมาเพื่อผลักดันให้มีการยกเลิกโทษประหารชีวิต พอเรามาเจอหนังยาวของไทยที่สร้างขึ้นเพื่อจุดประสงค์ทางกฎหมายโดยเฉพาะ เราก็เลยรู้สึกว่ามันน่าสนใจดี และเราก็เห็นด้วยอย่างรุนแรงกับจุดประสงค์ของหนังเรื่องนี้ ถึงแม้ว่าเราจะไม่ชอบองค์ประกอบของหนังในหลายๆจุดก็ตาม

อีกจุดนึงที่เราสนใจก็คือว่า ทำไมหนังยาวเกย์-เลสเบี้ยนของไทยหลายๆเรื่องที่ลงโรงฉายตามปกติในช่วง 2-3 ปีหลัง ถึงแทบไม่มีเรื่องไหนเลยที่ทำได้ดีกว่า YES OR NO (2010, สรัสวดี วงศ์สมเพ็ชร) กับ YES OR NO 2 (2012, สรัสวดี วงศ์สมเพ็ชร) คือเราว่า YES OR NO สองภาคนี้เป็นหนังเลสเบียนที่เราชอบมากๆเลยนะ แต่มันก็น่าจะจุดประกายให้มีการทำหนังเกย์,เลสเบียนที่ดียิ่งกว่านี้ตามมาอีกสิ แต่กลับกลายเป็นว่าหนังเกย์,เลสเบียนของไทยหลายๆเรื่องที่ออกฉายต่อๆมา กลับดูด้อยกว่า YES OR NO สองภาคนี้เป็นส่วนใหญ่ คือเราก็ดีใจนะที่มีการผลิตหนังเกย์,เลสเบียนออกมาเยอะๆน่ะ คือยิ่งเยอะก็ยิ่งดี แต่กลับกลายเป็นว่าหลายๆเรื่องกลับไม่น่าพอใจเท่าที่ควรยังไงไม่รู้

(แต่ก็มีบางเรื่องที่ดีมากๆนะ อย่างเช่น IT GETS BETTER)

อันนี้เป็นรูปของภูดิท ขุนชนะสงคราม หนึ่งในนักแสดงใน 1448




TWO ROOM APARTMENT (2014, Niv Sheinfeld + Oren Laor, stage performance, A+10)

TWO ROOM APARTMENT (2014, Niv Sheinfeld + Oren Laor, stage performance, A+10)

มันก็ดีนะ แต่มันไม่กระทบเราเท่าไหร่ ไม่รู้ว่าเป็นเพราะมันพูดถึงเรื่องของ “ความสัมพันธ์” หรือเปล่า ซึ่งเราไม่เคยมีประสบการณ์อะไรในเรื่องนี้ เราก็เลยไม่อินกับมันมากนัก

อันนี้เป็นสาเหตุเดียวกับที่ทำให้เราไม่ได้ชอบ “เลิก” (Bhanbhassa Dhubthien, A+25) ถึงขั้น A+30 เหมือนกัน คือเรารู้สึกว่า “เลิก” ดีมากๆ และไปสุดทางของมัน แต่มันก็ไม่ได้กระทบเราในระดับที่รุนแรงสุดขีด ซึ่งนั่นเป็นเพราะประสบการณ์ส่วนตัวของเราเอง เรายังไม่เคยมีผัว เราก็เลยยังไม่เคยเลิกกับผัว เราก็เลยไม่ได้อินกับ “เลิก” ในระดับที่รุนแรงมากนัก

อีกสาเหตุที่อาจจะทำให้เราไม่ได้ชอบ TWO ROOM APARTMENT ในระดับที่รุนแรงสุดขีด ก็คือว่า เรารู้สึกว่า TWO ROOM APARTMENT มัน physical มากๆ แต่มันไม่มีอะไรที่กระทบเราในระดับ spiritual น่ะ ซึ่งมันจะแตกต่างจากการแสดงเต้นรำของ Jitti Chompee คือเรารู้สึกว่าการแสดงในระยะหลังๆบางอันของ Jitti Chompee มันให้ความรู้สึกที่ค่อนไปในทาง spiritual หรือ ethereal ซึ่งเราจะชอบความรู้สึกแบบนั้น แต่การแสดงของอิสราเอลอันนี้มันดู physical มากๆ



Wednesday, November 26, 2014

MY FIFTEEN FAVORITE FILMS FROM SOME INTERESTING COUNTRIES


I was tagged by Matthew Hunt a few months ago to list 15 favorite films. So here is my list. This list is not about my most favorite films of all time, but about fifteen favorite films which come from some interesting countries.


MY FIFTEEN FAVORITE FILMS FROM SOME INTERESTING COUNTRIES

1.BLIND SPOT (2002, Hanna Antonina Wojcik-Slak, Slovenia)
2.FALLEN (2005, Fred Kelemen, Latvia)
3.A FAREWELL TO HEMINGWAY (2008, Svetoslav Ovtcharov, Bulgaria)
4.HYENAS (1992, Djibril Diop Mambéty, Senegal)
5.LITTLE MEN (2003, Nariman Turebayev, Kazakhstan)
6.THE MUTE (2013, Daniel Vega + Diego Vega, Peru)
7.NOI THE ALBINO (2003, Dagur Kári, Iceland)
8.THE PATH (2008, Ishtar Yasin Gutierrez, Costa Rica)
9.SEAWARDS JOURNEY (2003, Guillermo Casanova, Uruguay)
10.A THOUSAND MONTHS (2003, Faouzi Bensaïdi, Morocco)
11.TIMBUKTU (2014, Abderrahmane Sissako, Mauritania)
12.TWO TIMES IN ONE SPACE (1984, Ivan Ladislav, Galeta, Croatia)
13.THE WIND (1982, Souleymane Cissé, Mali)
14.A WOMAN LIKE NO OTHER (2009, Abdoulaye Dao, Burkina Faso)
15.ZOETROPE (2011, Rouzbeh Rashidi, Ireland)

The photo comes from ZOETROPE.


Tuesday, November 25, 2014

SWAN LAKE REVISITED (2014, A+25)

SWAN LAKE REVISITED (2014, performed by Rhythmosaic Dance Company, choreographed by Ronnie Shambik Ghose, A+25)

อีหงส์ดำ วิทยายุทธมึงสูงมาก 555

เวลาคนอินเดียเต้นในความเร็วสูงนี่มันน่าตื่นตะลึงจริงๆ ในการแสดงนี้มีบางช่วงที่หงส์ดำต้องร่ายรำในความเร็วที่สูงมาก และเราก็ชอบอะไรแบบนี้มากๆ

เวลาดูหนังอินเดีย แล้วมันมีฉากที่ต้องเต้นแบบไฮสปีด เรามักจะชอบฉากนั้นมากๆ อย่างเช่นในหนังเรื่อง GUIDE (1965, Vijay Anand)

ดู SWAN LAKE REVISITED แล้ว อยากให้มีคนสร้างหนังเรื่อง “BLACK SWAN ปะทะนางพญางูขาว” 555


BITTERSWEET CHOCOLATE (2014, Oompon Kitikamara, A-/B+)

BITTERSWEET CHOCOLATE (2014, Oompon Kitikamara, A-/B+)

SPOILERS ALERT
--
--
--
--
--
ถ้าเปรียบหนังเรื่องนี้เป็นอาหาร เราก็รู้สึกว่าเราชอบมันที่รสชาติมันประหลาดดี แต่มันไม่อร่อยน่ะ 555 คือถ้ามันประหลาดแล้วอร่อยถูกปากเรามันก็จะดีมากๆเลยนะ แต่นี่มันเหมือนเป็นการทดลองทำอะไรแปลกๆที่ออกมาแล้วยังไม่ค่อยลงตัวสักเท่าไหร่ หรืออย่างน้อยก็ออกมายังไม่เข้าทางเราสักเท่าไหร่

นอกจากความประหลาดแล้ว อีกส่วนที่ชอบก็คือช่วงท้ายเรื่อง 555 คือเราไม่ได้สนใจเรื่องยาเสพติดน่ะ และเราก็ว่าความสัมพันธ์แม่-ลูกในหนังเรื่องนี้มันนำเสนอออกมาได้ประหลาด แต่ไม่กระทบอารมณ์ความรู้สึกเรายังไงไม่รู้ แต่เราชอบความสัมพันธ์เกย์แบบ sadist-masochist ในช่วงท้ายเรื่อง คือหนังเรื่องนี้มันจะเข้าทางเรา ถ้าหากมันเป็นหนังเกย์ไปเลย โดยเน้นนำเสนอความรักทรมานระหว่างเกย์ขายตัวกับเกย์แมงดา แล้วทำอารมณ์ออกมาให้ได้หื่นๆ+ feel bad หน่อยๆแบบหนังบางเรื่องของ Pier Paolo Pasolini




Sunday, November 23, 2014

VACLAV HAVEL – LIVING IN FREEDOM (2014, Andrea Sedláčková, Czech, documentary, A+20)

VACLAV HAVEL – LIVING IN FREEDOM (2014, Andrea Sedláčková, Czech, documentary, A+20)

รู้สึกว่าประวัติชีวิตของ Havel น่าสนใจสุดๆ แต่เรารู้สึกว่าหนังเล่าเรื่องเร็วไปหน่อย และเราก็เคยดูหนังสารคดีเรื่อง CITIZEN HAVEL (2008, Miroslave Janek + Pavel Koutecký) มาแล้ว มันก็เลยเกิดการเปรียบเทียบกัน และเราว่า CITIZEN HAVEL ปฏิบัติต่อตัว subject ได้น่าสนใจกว่า คือมันทำให้ Havel ดูเป็นมนุษย์มากกว่า ในขณะที่ VACLAV HAVEL – LIVING IN FREEDOM มันดูเหมือนเป็นหนังที่เน้นการให้ข้อมูล และเชิดชูตัว Havel มากพอสมควร



Friday, November 21, 2014

MAGIC IN THE MOONLIGHT (2014, Woody Allen, A+10)

MAGIC IN THE MOONLIGHT (2014, Woody Allen, A+10)

เหมือนหนังหลายๆเรื่องของ Woody Allen ในแง่ที่ว่า เราชอบมากๆ และไม่เคยผิดหวังกับหนังของเขา แต่เราไม่ได้ชอบสุดๆ

ชอบประเด็นบางประเด็นในหนังเรื่องนี้มากๆ แต่พอถึงตอนจบแล้วรู้สึกว่าอารมณ์มันไม่พีคมากเท่าที่ควร

ตอนที่ดูจะรู้สึกเปรียบเทียบกับ ECCENTRICITIES OF A BLONDE HAIRED GIRL (2009, Manoel de Oliveira, Portugal) ในแง่ที่ว่า มันดูเหมือนเป็นหนังง่ายๆของผู้กำกับวัยชราเหมือนกัน เป็นหนังที่ไม่มีอะไรซับซ้อนมากนัก และมีเสน่ห์แบบโบราณๆ เหมือนกัน ซึ่งเป็นสิ่งที่ประหลาดดี และเสน่ห์แบบโบราณๆนี่แหละคือสิ่งที่เราชอบมากในหนังทั้งสองเรื่องนี้ แต่เราจะชอบ ECCENTRICITIES OF A BLONDE HAIRED GIRL มากกว่า ในแง่ที่ว่า เราว่าตัวละครในหนังของโอลิเวรา มันมีความลึกลับและมี “ความไม่สามารถอธิบายได้” มากกว่าตัวละครในหนังของอัลเลน คือในขณะที่ MAGIC IN THE MOONLIGHT บอกว่าความรักไม่มีเหตุผล แต่มนุษย์ในหนังมันกลับดูขาดเสน่ห์ลึกลับน่าค้นหายังไงไม่รู้ ยกเว้นเพียงแค่ตัวละครของ Eileen Atkins เท่านั้นที่ดูเป็นมนุษย์ที่น่าค้นหามากที่สุดสำหรับเรา อย่างไรก็ดี ในหนังของโอลิเวรานี่แหละ ที่เราจะได้พบกับ “ความไม่มีเหตุผล” ของมนุษย์หรือของชะตาชีวิตจริงๆ

(แต่ก็มีหนังบางเรื่องของ Woody Allen ที่เราชอบแบบสุดขีดคลั่งนะ ซึ่งได้แก่เรื่อง SEPTEMBER (1987) กับ ANOTHER WOMAN (1988))