สุดถนนบนทางเปลี่ยว
THE END OF THE TRACK (1970, Mou Tun-fei, Taiwan, A+30)
อันดับหนึ่งประจำปี 2019 ของเราในตอนนี้
SPOILERS ALERT
--
--
--
--
--
1.ชอบอย่างสุดขีดคลั่งตั้งแ ต่ฉากเปิดจนฉากปิดของเรื่อง ชอบทั้งงานด้านภาพ, การจัดองค์ประกอบภาพ, การตัดต่อ, การใช้ภาพนิ่ง, เนื้อเรื่อง,
ความ homoerotic, การให้ความสำคัญกับอาชีพตัว ละคร,
ยุคสมัย, ตัวละครประกอบ, การตัดสินใจของตัวละคร และรายละเอียดเล็กๆน้อยๆ
คือแค่ฉากเปิดก็กราบตีนแล้ว ที่เป็นดวงไฟสองดวงล่องลอยไ ปมาท่ามกลางความมืด
จนในเวลาต่อมาเราถึงพบว่า ที่แท้แล้วมันเป็นแสงไฟฉายจ ากหมวกนิรภัยของพระเอกกับเด ็กหนุ่มเพื่อนสนิท
ทั้งสองค่อยๆโผล่ออกมาจากเห มืองร้าง
ฉากเปิดนี้มันล้อกับฉากปิดข องเรื่องด้วย
คือแค่ฉากเปิดก็แสดงให้เห็น แล้วว่า
Mou Tun-fei มีความสามารถในการ "ถ่ายทอดด้วยภาพเคลื่อนไหว" น่ะ
2.การจัดองค์ประกอบภาพก็งดง ามมากๆ
ฉากที่ติดตามากคือฉากแบบ extreme long shot ที่เราเห็นพระเอกยืนตัวเล็ก ๆอยู่หน้าแม่น้ำ
ฉากนี้ทำให้นึกถึงฉากที่ติด ตาสุดๆใน
I DIDN'T DARE TO TELL YOU (1969, Mou Tun-fei) ด้วย
ซึ่งเป็นฉากแบบ extreme long shot เข่นกัน
ที่ถ่ายพระเอกยืนอย่างโดดเด ี่ยวอยู่คนเดียวท่ามกลางกำแ พงที่กว้างใหญ่
คืออารมณ์ในสองฉากนี้มันมาจ ากการจัดองค์ประกอบภาพน่ะ
ที่เลือกถ่ายตัวละครเอกจากร ะยะไกล เพื่อให้พระเอกดูตัวเล็กมาก ๆท่ามกลางสิ่งแวดล้อมที่ดูใ หญ่โตมโหฬาร
ทั้งๆที่จริงๆแล้วมันเป็นเพ ียงแค่แม่น้ำธรรมดา หรือกำแพงโรงเรียนธรรมดา
3.ชอบเนื้อเรื่องอย่างสุดๆด ้วย
ดูแล้วอยากรีเมคใหม่มากๆ แต่จะเปลี่ยนให้ตัวละครแก่ก ว่าในเรื่องนี้สัก 5
ปี เป็นเรื่องของคู่รักเกย์หนุ ่มหล่อกล้ามโตอายุ 18 ปีสองคนที่ถอดเสื้อเกือบตลอ ดทั้งเรื่อง 555
แต่เท่าที่เป็นอยู่นี้ หนังมันก็งดงามมากๆแล้วล่ะ ช่วงแรกนี่นึกว่าสรวงสวรรค์ อีเดนสำหรับตัวละครเอกมากๆ
คือชีวิตพวกเขาไม่ได้สุขสบา ยนะ แต่เราสัมผัสได้ถึงความสุขใ น
"โลกของพวกเขาสองคน" น่ะ โลกที่ทั้งสองเล่นสนุกกันไป มา เล่นน้ำ
สำรวจถ้ำ ทำการบ้าน กอดปล้ำกัน เย้าแหย่กัน มีกันและกันตลอดเวลา
พอในช่วงต่อมา พระเอกก็เหมือนตกจากสวรรค์ และเต็มไปด้วยความรู้สึกผิด บาป
เราว่าเนื้อเรื่องช่วงหลังน ี่น่าสนใจมากในแง่ที่ว่า
มันไม่มีเหตุการณ์ภายนอกมาท ำร้ายพระเอกเลย พระเอกถูกทำร้ายจากความรู้ส ึกในใจตนเองเท่านั้น
คือเหมือนหนังมันเล่นท่ายาก มากพอสมควรด้วยแหละ คือมันไม่ได้พึ่งพา "
เนื้อเรื่อง หรือ เหตุการณ์" ในการขับเคลื่อนเรื่องไปข้า งหน้าแล้ว
หนังพึ่งพาความรู้สึกในใจพร ะเอก ในการผลักเรื่องไปข้างหน้าอ ย่างเดียวเลย
และหนังเรื่องนี้ก็ทำได้สำเ ร็จอย่างงดงามมากๆในจุดนี้
ทั้งๆที่มันไม่ใช่เรื่องง่า ยที่จะทำแบบนี้ได้
4.ชอบที่หนังลงรายละเอียดเย อะมากเรื่องการประกอบอาชีพข ายบะหมี่
(หรือก๋วยเตี๋ยว?) ด้วย ทั้งการต้องเข็นแผงไปขายให้ ทันเวลาคนงานเลิกงาน
และความฝันที่จะมีร้านแบบเป ็นหลักแหล่ง
5.สิ่งที่ชอบสุดๆอีกอย่างคิ อตัวละครประกอบ
4 ตัว ซึ่งได้แก่คู่สามีภรรยาขายบ ะหมี่ และพ่อแม่ของพระเอก
เพราะทั้ง 4 ตัวละครนี้เป็นคนดีหมดเลยน่ ะ
เพราะฉะนั้นมันก็เลยผิดคาดม ากๆ เพราะตอนแรกเรานึกว่า
พ่อแม่พระเอกจะไม่เข้าใจพระ เอก และพยายามขัดขวางการไถ่บาปข องพระเอก
แต่ปรากฏว่าพ่อแม่พระเอกกลั บเข้าใจพระเอกเป็นอย่างดี
และพยายามช่วยเหลือลูกในการ ไถ่บาปด้วย ซึ่งถือเป็นสิ่งที่ดีงามมาก ๆ
และแสดงให้เห็นว่า หนังเรื่องนี้ไม่ได้เลือกกา รสร้างอุปสรรคเพื่อทำร้ายพร ะเอกแบบหนังทั่วไป
พระเอกในหนังเรื่องนี้ไม่ได ้เผชิญอุปสรรคจาก "คนเลว" หรือ
"ความไม่เข้าใจ" หรือ ""การรักลูกแบบผิดๆ" แบบหนังทั่วไป
แต่เผชิญอุปสรรคจากหลุมดำใน ใจตัวเองล้วนๆ
คู่สามีภรรยาขายบะหมี่ก็ดีง ามมากๆ
5.ชอบการแข่งขันดีดลูกคิดใน หนังเรื่องนี้ด้วย
เหมือนเราไม่เคยเห็นสิ่งนี้ ในหนังเรื่องอื่นๆเลย และมันทำให้เรานึกขึ้นมาได้ ว่า
เราไม่เห็นคนใช้ลูกคิดในชีว ิตจริงมานาน 30 กว่าปีแล้ว
คือเหมือนตอนเด็กๆเราเคยเห็ นร้านขายของชำบางร้านใช้ลูก คิดอยู่
แต่เราก็ไม่ได้เห็นมันมานาน มากแล้ว
6.ชอบลมหมุนในลู่วิ่งมากๆเล ยด้วย
ทำให้นึกถึงตอนเด็กๆที่เราก ็ชอบมองดูสิ่งนี้
7.ฉาก "สามัคคีคือพลัง" ตอนพายุฝนถล่มนี่ทรงพลังมาก ๆ ซึ้งมากๆ
แอบนึกด้วยว่า หนังอาจจะเลือกทางออกง่ายๆด ้วยการให้พระเอกเป็นบาดทะยั กตายหลังจากได้รับบาดเจ็บที ่ขาในฉากนั้น
แต่ดีที่หนังไม่ได้เลิอกทาง ออกแบบนั้น
8.แต่สิ่งที่สุดขีดมากๆคือก ารตัดสินใจฆ่าตัวตายของตัวล ะคร
(เราเดาว่าตัวละครตัดสินใจแ บบนั้นนะ ถึงหนังไม่ได้บอกตรงๆ)
คือตามหลักเหตุผลแล้ว ตัวละครไม่ควรต้องฆ่าตัวตาย เลย
เพราะเขาไม่ได้ทำผิดอะไรเลย เขาเป็นผู้ชายที่จิตใจดีงาม เหมาะจะเติบโตขึ้นมาเป็นสาม ีของเรามากๆ
แต่หนังก็ทำให้เรารู้สึกเข้ าใจมากๆว่าทำไมตัวละครถึงตั ดสินใจแบบนั้น
เหมือนบ่อความเศร้าในใจมนุษ ย์ในชีวิตจริง มันก็เป็นสิ่งที่ยากจะอธิบา ย
และไร้เหตุผลแบบนี้นี่แหละ และหนังเรื่องนี้ก็เข้าใจดี ถึงความซับซ้อนนี้
(อาจจะมีต่อ)
THE END OF THE TRACK (1970, Mou Tun-fei, Taiwan, A+30)
อันดับหนึ่งประจำปี 2019 ของเราในตอนนี้
SPOILERS ALERT
--
--
--
--
--
1.ชอบอย่างสุดขีดคลั่งตั้งแ
คือแค่ฉากเปิดก็กราบตีนแล้ว
ฉากเปิดนี้มันล้อกับฉากปิดข
คือแค่ฉากเปิดก็แสดงให้เห็น
2.การจัดองค์ประกอบภาพก็งดง
ฉากนี้ทำให้นึกถึงฉากที่ติด
คืออารมณ์ในสองฉากนี้มันมาจ
3.ชอบเนื้อเรื่องอย่างสุดๆด
แต่เท่าที่เป็นอยู่นี้ หนังมันก็งดงามมากๆแล้วล่ะ ช่วงแรกนี่นึกว่าสรวงสวรรค์
พอในช่วงต่อมา พระเอกก็เหมือนตกจากสวรรค์ และเต็มไปด้วยความรู้สึกผิด
4.ชอบที่หนังลงรายละเอียดเย
5.สิ่งที่ชอบสุดๆอีกอย่างคิ
คู่สามีภรรยาขายบะหมี่ก็ดีง
5.ชอบการแข่งขันดีดลูกคิดใน
6.ชอบลมหมุนในลู่วิ่งมากๆเล
7.ฉาก "สามัคคีคือพลัง" ตอนพายุฝนถล่มนี่ทรงพลังมาก
แอบนึกด้วยว่า หนังอาจจะเลือกทางออกง่ายๆด
8.แต่สิ่งที่สุดขีดมากๆคือก
แต่หนังก็ทำให้เรารู้สึกเข้
THE END OF THE TRACK (ต่อ)
SPOILER ALERT
--
--
--
--
--
9.ความเศร้าของตัวละครในหนังเรื่องนี้
ทำให้นึกถึงหนังอีกหลายๆเรื่อง และประเด็นเรื่อง survivor’s guilt ด้วย ซึ่งจริงๆตัวละครใน THE END OF THE TRACK ไม่ได้มี
survivor’s guilt นะ แต่มันเป็นตัวละครที่รู้สึก guilt
ทั้งๆที่ตัวเองไม่ได้ทำอะไรผิดเหมือนๆกับพวก survivor’s
guilt น่ะ
คือเมื่อเร็วๆนี้ได้อ่านเรื่องผู้หญิงที่รอดชีวิตจากเหตุการณ์กราดยิงที่โรงเรียนมัธยมในอเมริกา
แต่เธอก็ฆ่าตัวตายในอีก 1 ปีต่อมา ทั้งๆที่เธอเป็นผู้รอดชีวิตจากเหตุการณ์กราดยิงนั้น
คือเหมือนเหตุการณ์กราดยิงอาจจะทำให้เธอรู้สึกผิดที่เธอรอดชีวิต
หรือมันอาจจะสร้างบาดแผลทางใจที่ใหญ่มากจนไม่มีวันรักษาให้หายได้ในใจเธอ
เธอก็เลยฆ่าตัวตายในอีกราว 1 ปีต่อมา ซึ่งเราว่าเรื่องแบบนี้มันน่าสนใจดี
มันดูเหมือนอยู่นอกเหนือคำอธิบาย และมันไม่ใช่ความผิดของใครโดยตรงเลย
คือเหมือนคนผิดจริงๆคงมีเพียงแค่ผู้กราดยิง แต่เราเชื่อว่าทุกคนรอบตัวเธอ
พ่อแม่พี่น้องและเพื่อนๆของเธอก็น่าจะ treat เธอในฐานะผู้รอดชีวิตอย่างดีที่สุดแล้ว
แต่มันก็ยังคงช่วยประคับประคองจิตใจเธอไม่ได้
ซึ่งเรื่องราวแบบนี้มันก็เลยทำให้นึกถึงตัวละครใน THE END OF THE TRACK ที่จมดิ่งลงในความเศร้า
ถึงแม้ทุกๆคนรอบข้างเขาพยายามช่วยเหลือเขาอย่างดีที่สุดแล้วก็ตาม
ตัวละครประเภท survivor’s guilt นี้ ยังทำให้นึกถึง
9.1 ตัวละครประกอบตัวนึงใน PHOENIX (2014, Christian Petzold) ที่รอดชีวิตจาก holocaust แต่ก็ฆ่าตัวตายในเวลาต่อมา
9.2 Stefan Zweig ซึ่งเป็นนักเขียนชื่อดัง กับภรรยาของเขา
ทั้งสองสามารถหนีรอดจาก Holocaust มาได้เช่นกัน
แต่ทั้งสองก็ตัดสินใจฆ่าตัวตายอยู่ดี โดยชีวิตของทั้งสองถูกนำมาสร้างเป็นหนังเรื่อง
STEFAN ZWEIG: FAREWELL TO EUROPE ด้วย
10. ความเศร้าในใจตัวละครเอกใน THE END OF THE TRACK ยังทำให้นึกถึงตัวละครเอกในหนังที่เราชอบสุดๆอีกหลายเรื่องด้วย
อย่างเช่น
10.1 พระเอกของ THE DEVIL, PROBABLY (1977, Robert Bresson)
10.2 พระเอกของ THE FIRE WITHIN (LE FEU FOLLET)
(1963, Louis Malle)
10.3 นางเอกของ GILLES’ WIFE (2004, Frédéric
Fonteyne)
10.4 นางเอกของ NO PLACE TO GO (2000, Oskar
Roehler)
คือเหมือนตัวละครทั้ง 4 ตัวนี้ และพระเอกของ THE END OF THE TRACK ต่างก็ไม่ได้ถูกทำร้ายโดยคนรอบข้างอย่างตรงๆน่ะ ความเศร้าในใจของพวกเขา
ดูเหมือนจะอยู่นอกเหนือเหตุผลหรือคำอธิบายอย่างง่ายๆ
และไม่ได้เกิดจากความผิดของใคร
แต่มันเป็นเรื่องของความซับซ้อนเกินคำบรรยายในใจมนุษย์จริงๆ
No comments:
Post a Comment