THE NEON DEMON (2016, Nicolas
Winding Refn, A+30)
1.พล็อตเรื่องของมันจริงๆแล ้วก็ไม่มีอะไรใหม่
ดูแล้วก็นึกถึงหนังอย่าง SHOWGIRLS (1995, Paul Verhoeven) หรือละครทีวีเรื่อง
MODELS INC (1994-1995) แต่มันเป็นพล็อตแนวที่เราชอ บมากอยู่แล้ว
เพราะมันเป็นพล็อตแนวผู้หญิ งตบตีกัน
2.ถึงพล็อตมันจะไม่ใหม่ แต่เราก็ดูหนังเรื่องนี้ด้ว ยความเพลิดเพลินเป็นอย่างมา ก เพราะมันเป็นหนังแนว “THE STYLE IS THE
SUBSTANCE” น่ะ คือเนื้อเรื่องของหนังไม่สำค ัญเท่าสไตล์ของหนัง
และถ้าสไตล์ของหนังเรื่องนั ้นมันคลิกกับเรา หรือมันถูกต้องตรงตามรสนิยม ของเรา
เราก็จะเพลิดเพลินกับมัน
และเราก็รู้สึกว่าสไตล์ของห นังเรื่องนี้มันจูนติดกับเร าอย่างมากๆ
เราว่ามันเป็นสไตล์ที่ทำให้ นึกถึงบรรยากาศหลอนๆในหนังอ ย่าง LOST
RIVER (2014, Ryan Gosling), IT FOLLOWS (2014, David Robert Mitchell) และ ENEMY (2013, Denis Villeneuve) น่ะ
ซึ่งก็ดูเหมือนเป็นลูกหลานท ี่สืบเชื้อสายมาจาก David Lynch อีกทอดนึง ไม่รู้เหมือนกันว่ามันมีศัพ ท์เฉพาะเรียกหนังกลุ่มนี้หร ือเปล่า
แต่มันเป็นหนังกลุ่มที่เราช อบมากๆ
3.นอกจากนี้ หนังเรื่องนี้ก็ได้รับอิทธิ พลจากหนังกลุ่ม
giallo และหนังสยองขวัญของอิตาลีใน ทศวรรษ 1970 ด้วย ซึ่งเป็นหนังกลุ่มที่เราชอบ มากพอสมควร ถึงแม้เราได้ดูหนัง giallo
ไม่เยอะมากนัก โดยในบรรดาหนังสยองขวัญยุคเ ก่าของอิตาลีที่เราเคยดูนั้ น
นอกจากหนังของ Dario Argento แล้ว เรื่องที่เราชอบมากๆก็รวมถึ ง
THE RED QUEEN KILLS SEVEN TIMES (1972, Emilio Miraglia) กับ
BLACK BELLY OF THE TARANTULA (1971, Paolo Cavara) แต่เรายังไม่ได้ดูหนังกลุ่ม นี้ที่กำกับโดย
Lucio Fulci, Mario Bava, Pupi Avati, Sergio Martno, Antonio Margheriti,
Umberto Lenzi, etc. เลย
ถ้าเทียบกับหนังระทึกขวัญอิ ตาลียุคนั้นแล้ว
เราก็พึงพอใจกับ THE NEON DEMON มากนะ
เพราะหนังระทึกขวัญอิตาลียุ คนั้นมันเหมือนให้ความสำคัญ กับ style และ substance ในระดับครึ่งต่อครึ่งน่ะ คือมันมี style
ที่น่าจดจำในระดับนึง แต่มันก็ให้ความสำคัญกับเนื ้อเรื่องด้วย
มันพยายามเล่าเรื่องให้สนุก สร้างความลุ้นระทึกว่าใครกั นแน่ที่จะเป็นฆาตกรตัวจริง
(เหมือนหนังชุด SCREAM ของ Wes Craven) และลุ้นว่านางเอกจะรอดพ้นเง ื้อมมือฆาตกรได้หรือไม่
แต่การที่หนังระทึกขวัญอิตา ลีให้ความสำคัญกับ
“เนื้อเรื่อง” มากแบบนั้น
มันก็เป็นข้อด้อยในตัวมันเอ งเหมือนกัน คือหนังระทึกขวัญพวกนี้ มันจะ “ลุ้นระทึกสุดขีด” ตอนที่ดูน่ะ
แต่พอมันเฉลยตัวฆาตกรแล้ว ความสนุกของหนังมันมักจะหาย ไปภายในเวลาอันรวดเร็ว
เหมือนฟองน้ำอัดลมที่ฟู่ขึ้ นมาอย่างรุนแรงแล้วก็ปลาสนา การไป
ยกเว้นแต่หนังที่มันผูกเรื่ องได้สนุกสุดขีดจริงๆ หรือมีไอเดียพล็อตเรื่องที่ น่าจดจำจริงๆ
อย่าง DEEP RED (1975, Dario Argento) และ PHENOMENA
(1985, Dario Argento) มันถึงจะตราตรึงในความทรงจำ ของเรา
ซึ่งสิ่งนี้จะแตกต่างจาก THE NEON DEMON เพราะหนังเรื่องนี้เหมือนให ้ความสำคัญกับ substance
แค่ 20% และให้ความสำคัญกับ style ถึง 80% เพราะฉะนั้นขณะที่ดู
เราก็ไม่ต้องลุ้นว่าใครจะเป ็นฆาตกรหรืออะไรทำนองนั้น
เราเพลิดเพลินอย่างเต็มที่ไ ปกับภาพอันเจิดจรัสเพริศแพร ้วที่เห็นต่อหน้า
และเพลิดเพลินกับบรรยากาศที ่อึมครึมอัดแน่นไปด้วยความห ลอน
และเราว่าสิ่งนี้มันค่อนข้า งเข้าทางเรามากๆน่ะ เพราะเราเองมักจะพบว่า “เนื้อเรื่อง” ของหนังหลายๆเรื่องมันขัดขว างความสุขของเรา
หรือมันขัดขวาง “การปลดปล่อยจิตใต้สำนึกของ ผู้กำกับออกมาอย่างเต็มที่” และเรารู้สึกเหมือนกับว่า ถ้าหากผู้กำกับบางคนปลดปล่อ ยจิตใต้สำนึกของตนเองออกมาอ ย่างเต็มที่
โดยไม่ต้องพยายาม “เล่าเรื่อง” มันอาจจะได้หนังที่เข้าทางเ รามากกว่า
อย่างเช่นหนังของ Teeranit Siangsanoh
และเราว่า THE NEON DEMON มันก็อาจจะเป็นแบบนี้นะ มันเหมือนกับว่าผู้กำกับไม่ ค่อยสนใจเนื้อเรื่องแล้ว
และเน้นงานด้านภาพที่สะใจตั วเองไปเลย และมันก็เลยได้ความสะใจสำหร ับเราด้วย
เพราะเราก็ชอบภาพแบบนี้เหมื อนกัน
แต่เรื่องแบบนี้มันก็ขึ้นอย ู่กับความถนัดของผู้กำกับแต ่ละคนนะ
เราว่าผู้กำกับอย่าง Kiyoshi Kurosawa ก็เป็นอีกแบบหนึ่ง
เพราะหนังของเขาได้ทั้งความ หลอนเต็มที่ด้วย แต่ก็อัดแน่นไปด้วย substance
อย่างมากๆด้วยในขณะเดียวกัน คือผู้กำกับแต่ละคนมันก็มีส ิ่งที่เหมาะสมกับตนเองแตกต่ างกันไปน่ะ
ผู้กำกับคนไหนที่ถนัดทำหนัง มีสาระ ก็ทำหนังมีสาระไป, ผู้กำกับคนไหนที่ถนัดทำทั้ง หนังมีสาระและสไตล์
ก็ทำหนังแบบนั้นไป (อย่างเช่น Peter Greenaway ที่หนังของเขาสไตล์หนักมาก
แต่ก็ intellectual มากๆ) แต่ผู้กำกับคนไหนที่ถนัดทำห นังเน้นสไตล์อย่างเดียว
เราก็ขอสนับสนุนให้เขาทำหนั งที่เน้นสไตล์อย่างเดียวไปเ ลย โดยไม่ต้องเอา “สาระ” หรือ “เนื้อเรื่อง”
มาถ่วงหนังของตนเอง
4.การที่ THE NEON DEMON เน้นสไตล์เป็นหลัก จริงๆแล้วมันก็เข้ากับเนื้อ เรื่องของหนังด้วย
เพราะมันเป็นเรื่องของวงการ แฟชั่นที่เน้น “ผิวเปลือก”
และ “สไตล์” มากกว่าสิ่งที่อยู่ข้างในเห มือนกัน
5.ความสุขที่เราได้จาก THE NEON DEMON มันทำให้นึกถึงความสุขที่ได ้จากหนังกลุ่ม THE
STYLE IS THE SUBSTANCE เรื่องอื่นๆนะ อย่างเช่น
5.1 THE MOON IN THE GUTTER (1983, Jean-Jacques Beineix)
5.2 THE FLIGHT OF THE INNOCENT (1992, Carlo Carlei) จริงๆแล้วหนังเรื่องนี้ก็มี substance ที่ดีมากๆนะ แต่สิ่งที่ตราตรึงในความทรง จำจริงๆกลับเป็น “งานด้านภาพ” มากกว่า
5.3 TEARS OF THE BLACK TIGER (2000, Wisit Sasanatieng)
5.4 FEMME FATALE (2002, Brian de Palma)
5.5 ONE DAY A DAY (2009, Kirati Nakintanont) ที่มีฉากนางเอกอุจจาระออกมา เป็นดอกกุหลาบ ถ้าจำไม่ผิด
และมันทำให้นึกถึงหนังนักศึ กษาไทยกลุ่มนึงด้วย
คือถ้าเราเข้าใจไม่ผิด นักศึกษาไทยในบางมหาลัยต้อง ทำหนังในวิชา “production
design” หรืออะไรทำนองนี้น่ะ เพราะฉะนั้นหนังที่ทำส่งวิช านี้
หลายๆเรื่องมันจะเน้นโปรดัก ชั่นฉูดฉาดอย่างเดียว ไม่เน้นเนื้อเรื่อง
6.แน่นอนว่าทุกอย่างมีข้อดี ข้อด้อยในตัวมันเอง
การที่ THE NEON DEMON เน้นสไตล์เป็นหลักอย่างรุนแ รง
ในแง่นึง มันทำให้เราชอบหนังเรื่องนี ้มากกว่าหนังระทึกขวัญของอิ ตาลีในทศวรรษ
1970 เพราะความสุขที่เราได้รับอย ่างรุนแรงจากงานด้านภาพใน
THE NEON DEMON ไม่ถูกทำลายลงด้วย “การคลี่คลายของพล็อตเรื่อง ”
หรือ “การเฉลยว่าใครเป็นฆาตกร” แบบที่เป็นปัญหาในหนังระทึก ขวัญของอิตาลีหรือของชาติอื ่นๆ
แต่ในอีกแง่นึง การที่ THE NEON DEMON เน้นสไตล์อย่างรุนแรง มันก็ทำให้เราชอบหนังเรื่อง นี้น้อยกว่าหนังกลุ่มสาวผู้ มาล่าฝันในแอลเออย่าง
MULHOLLAND DRIVE (2001, David Lynch) และ MAPS TO
THE STARS (2014, David Cronenberg) นะ เพราะมันเหมือนกับว่า THE
NEON DEMON ใช้ “ผิวเปลือก” ในการกระตุ้นอารมณ์ความรู้ส ึกของเราอย่างรุนแรง ในขณะที่ MULHOLLAND
DRIVE มันเหมือนลงลึกไปในดินแดนลึ กลับในจิตใต้สำนึกของตัวละค รและผู้ชมได้ด้วย
และมันเป็นอะไรที่สะเทือนเร ารุนแรงกว่า THE NEON DEMON ส่วน
MAPS TO THE STARS นั้น มันเจาะลึกจิตวิญญาณของตัวล ะครแต่ละตัวออกมาได้อย่างรุ นแรงมากๆ
และเราว่าอะไรแบบนี้คือสิ่ง ที่เราชอบมากที่สุด
คือจริงๆแล้วเราว่าตัวละครใ น THE
NEON DEMON กับตัวละครใน MAPS TO THE STARS นั้น
มันดูเหมือนเป็นเพื่อนบ้านก ันนะ มันมีความวิปริตเวิ้งว้างใน จิตใจเหมือนๆกัน
แต่ THE NEON DEMON นำเสนอให้เราเห็นผิวหนังอัน มลังเมลืองของตัวละคร
MULHOLLAND DRIVE ให้เราเห็นจิตใต้สำนึกของตั วละคร
MAPS TO THE STARS ให้เราเห็นจิตวิญญาณอันวิปร ิตบิดเบี้ยวของตัวละครแต่ละ ตัว
และเราก็ชอบหนังทั้งสามเรื่ องนี้อย่างสุดๆ
แต่เราอาจจะชอบแบบ MAPS TO THE STARS มากที่สุดในสามเรื่องนี้
7.ฉากที่ชอบที่สุดใน THE NEON DEMON คือฉากช่วงต้นเรื่องที่นางเ อกดูการแสดงในคลับน่ะ
เราว่าฉากนั้นหนังดีไซน์ภาพ เสียงออกมาได้อย่างเข้าทางเ ราสุดๆ
คือฉากนั้นมันคือสไตล์จริงๆ เพราะมันไม่มีเนื้อเรื่องอะ ไรเลยในฉากนั้น
เราแค่เห็นใบหน้าของตัวละคร , การชำเลืองตาของตัวละคร,
การกะพริบของแสงไฟ, เงาสะท้อนไฟอะไรสักอย่างบนห น้าจอ,
จังหวะการตัดต่อ, จังหวะของเสียงเพลง
คือมันดูเป็นฉากที่ไม่มีเนื ้อเรื่องอะไร แต่พลังจากฉากนั้นมันสุดๆมา กด้วยความสามารถด้าน
visual design, sound, การตัดต่อ
อีกสาเหตุนึงที่ทำให้เราชอบ ฉากนี้มากที่สุด
เพราะตอนนั้นเรายังไม่รู้จั กตัวละครดีด้วยแหละ ตัวละครทั้ง 4 ตัวในฉากนี้ยังคงเป็นความลั บสำหรับเรา เรายังไม่รู้ว่าตัวละครทั้ง 4 ตัวนี้มี “ศักยภาพ” อะไรบ้าง
เป็นมนุษย์ธรรมดา หรือว่าเป็นฆาตกรโรคจิต หรือว่าเป็นมนุษย์อภินิหาร
หรืออะไรกันแน่ ฉากนี้มันก็เลยสร้างความตื่ นเต้นให้กับเราอย่างมากๆ
แต่พอเนื้อเรื่องดำเนินไป และเราพบว่าตัวละครบางตัวมั นไม่ได้มีอิทธิฤทธิ์สูงอย่า งที่เราคาดไว้
ฉากช่วงหลังๆของเรื่องก็เลย ไม่ได้กระทบอารมณ์เรามากเท่ าฉากต้นเรื่อง
จริงๆแล้วฉากนี้ใน THE NEON DEMON มัน “สั่นสะเทือนเราด้วยพลังด้า นภาพและเสียง”
ได้เท่ากับหนังของ Philippe Grandrieux เลยนะ
คือหนังของ Philippe Grandrieux อย่าง SOMBRE (1998) มันก็ทำให้เรารู้สึก ecstatic อย่างเต็มที่ได้ด้วยงานด้าน ภาพและเสียงเหมือนฉากต้นเรื ่องใน
THE NEON DEMON เหมือนกัน แต่มันแตกต่างกันตรงที่ SOMBRE
ทำให้เรารู้สึกแบบนั้นได้ตล อดทั้งเรื่อง แต่ THE NEON
DEMON ทำให้เรารู้สึกแบบนั้นได้เพ ียงแค่ไม่กี่ฉากเท่านั้น
สรุปว่าเราชอบ THE NEON DEMON อย่างสุดๆ แต่ในขณะเดียวกัน เราว่า “พลังความมืด” ในหนังเรื่องนี้ มันไม่ทรงพลังมากเท่ากับ “พลังความมืด” ในหนังของ David Lynch, David Cronenberg และ Philippe Grandrieux น่ะ คือมันมีความใกล้เคียงกันใน ระดับนึง
แต่พอเปรียบเทียบกันแล้ว เราว่า Philippe Grandrieux ยังคงชนะขาดแบบไม่เห็นฝุ่นใ นแง่พลังด้านภาพและเสียงที่ จูนติดกับเรามากที่สุด
1.พล็อตเรื่องของมันจริงๆแล
2.ถึงพล็อตมันจะไม่ใหม่ แต่เราก็ดูหนังเรื่องนี้ด้ว
และเราก็รู้สึกว่าสไตล์ของห
3.นอกจากนี้ หนังเรื่องนี้ก็ได้รับอิทธิ
ถ้าเทียบกับหนังระทึกขวัญอิ
แต่การที่หนังระทึกขวัญอิตา
ซึ่งสิ่งนี้จะแตกต่างจาก THE NEON DEMON เพราะหนังเรื่องนี้เหมือนให
และเราว่า THE NEON DEMON มันก็อาจจะเป็นแบบนี้นะ มันเหมือนกับว่าผู้กำกับไม่
แต่เรื่องแบบนี้มันก็ขึ้นอย
4.การที่ THE NEON DEMON เน้นสไตล์เป็นหลัก จริงๆแล้วมันก็เข้ากับเนื้อ
5.ความสุขที่เราได้จาก THE NEON DEMON มันทำให้นึกถึงความสุขที่ได
5.1 THE MOON IN THE GUTTER (1983, Jean-Jacques Beineix)
5.2 THE FLIGHT OF THE INNOCENT (1992, Carlo Carlei) จริงๆแล้วหนังเรื่องนี้ก็มี
5.3 TEARS OF THE BLACK TIGER (2000, Wisit Sasanatieng)
5.4 FEMME FATALE (2002, Brian de Palma)
5.5 ONE DAY A DAY (2009, Kirati Nakintanont) ที่มีฉากนางเอกอุจจาระออกมา
และมันทำให้นึกถึงหนังนักศึ
6.แน่นอนว่าทุกอย่างมีข้อดี
แต่ในอีกแง่นึง การที่ THE NEON DEMON เน้นสไตล์อย่างรุนแรง มันก็ทำให้เราชอบหนังเรื่อง
คือจริงๆแล้วเราว่าตัวละครใ
แต่ THE NEON DEMON นำเสนอให้เราเห็นผิวหนังอัน
MULHOLLAND DRIVE ให้เราเห็นจิตใต้สำนึกของตั
MAPS TO THE STARS ให้เราเห็นจิตวิญญาณอันวิปร
และเราก็ชอบหนังทั้งสามเรื่
7.ฉากที่ชอบที่สุดใน THE NEON DEMON คือฉากช่วงต้นเรื่องที่นางเ
อีกสาเหตุนึงที่ทำให้เราชอบ
จริงๆแล้วฉากนี้ใน THE NEON DEMON มัน “สั่นสะเทือนเราด้วยพลังด้า
สรุปว่าเราชอบ THE NEON DEMON อย่างสุดๆ แต่ในขณะเดียวกัน เราว่า “พลังความมืด” ในหนังเรื่องนี้ มันไม่ทรงพลังมากเท่ากับ “พลังความมืด” ในหนังของ David Lynch, David Cronenberg และ Philippe Grandrieux น่ะ คือมันมีความใกล้เคียงกันใน
No comments:
Post a Comment