YOHJI YAMAMOTO DRESSMAKER (2015, Ngo
The Chau, documentary, A+30)
ดูที่ Bangkok Screening
Room เราชอบคำพูดของโยจิในหนังเรื่องนี้มากๆ รู้สึกว่ามีคำพูดที่น่า
quote มาใช้ประมาณ 100 ประโยคในหนังเรื่องนี้
คือถึงแม้หนังเรื่องนี้จะใข้ชื่อเรื่องว่า dressmaker สิ่งที่เราชอบสุดๆในหนังเรื้องนี้ก็คือโยจิในฐานะ
human being และ philosopher of life
ชอบเรื่องราวความพยายามฆ่าตัวตายของเขามากๆ คือเขาเล่าว่า มีวันนึงที่เขารู้สึกมีความสุขมากๆ เขาก็เลยพยายามฆ่าตัวตายในวันนั้น ด้วยการกินยานอนหลับ แต่โชคดีที่เขารอดชีวิตมาได้
เขาเล่าอีกด้วยว่า ตอนเด็กๆมีกะหรี่สาวคนนึงใส่ส้นสูงมาใช้ตู้โทรศัพท์ที่หน้าบ้านเขาเป็นประจำ เขาฝังใจกับน่องอันปูดโปนของกะหรี่สาวคนนี้มาก จนเกิดเป็น trauma และเขาก็เลยเกลียดรองเท้าส้นสูงตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา
ชอบเรื่องราวความพยายามฆ่าตัวตายของเขามากๆ คือเขาเล่าว่า มีวันนึงที่เขารู้สึกมีความสุขมากๆ เขาก็เลยพยายามฆ่าตัวตายในวันนั้น ด้วยการกินยานอนหลับ แต่โชคดีที่เขารอดชีวิตมาได้
เขาเล่าอีกด้วยว่า ตอนเด็กๆมีกะหรี่สาวคนนึงใส่ส้นสูงมาใช้ตู้โทรศัพท์ที่หน้าบ้านเขาเป็นประจำ เขาฝังใจกับน่องอันปูดโปนของกะหรี่สาวคนนี้มาก จนเกิดเป็น trauma และเขาก็เลยเกลียดรองเท้าส้นสูงตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา
TROUBLE IN PARADISE (2017, Taiki
Sakpisit, video installation)
--นึกว่าสามารถปะทะกับ RUHR (2009, James Benning) ได้ ในแง่ของการจับจ้องมองบางสิ่งอย่างแน่วนิ่งและเนิ่นนานเหมือนกัน
--รู้สึกว่าวิดีโอนี้แตกต่างจากผลงานช่วงหลังๆของไทกิในแง่ที่ว่า มัน “เงียบ” น่ะ เพราะหนังยุคหลังๆของไทกิมีจุดเด่นอย่างนึงที่ “เสียง” ที่รุนแรงมาก
--ไม่แน่ใจว่า หนังยุคหลังๆของไทกิ อย่างเช่น A RIPE VOLCANO, THREE KINGS, TIME OF THE LAST PERSECUTION, THE AGE OF ANXIETY จนมาถึงเรื่องนี้ จริงๆแล้วพูดถึงสิ่งที่เกี่ยวข้องกันหรือเปล่า 555
--นึกว่าสามารถปะทะกับ RUHR (2009, James Benning) ได้ ในแง่ของการจับจ้องมองบางสิ่งอย่างแน่วนิ่งและเนิ่นนานเหมือนกัน
--รู้สึกว่าวิดีโอนี้แตกต่างจากผลงานช่วงหลังๆของไทกิในแง่ที่ว่า มัน “เงียบ” น่ะ เพราะหนังยุคหลังๆของไทกิมีจุดเด่นอย่างนึงที่ “เสียง” ที่รุนแรงมาก
--ไม่แน่ใจว่า หนังยุคหลังๆของไทกิ อย่างเช่น A RIPE VOLCANO, THREE KINGS, TIME OF THE LAST PERSECUTION, THE AGE OF ANXIETY จนมาถึงเรื่องนี้ จริงๆแล้วพูดถึงสิ่งที่เกี่ยวข้องกันหรือเปล่า 555
JOLLY LLB 2 (2017, Subhash Kapoor,
India, 140min, A+30)
เป็นหนังอินเดียเรื่องที่สามที่อาจติดอันดับประจำปีนี้ ต่อจาก DANGAL และ THITHI รู้สึกว่าในขณะที่หนังญี่ปุ่นยุคนี้เชี่ยวชาญมากๆในการทำหนังเกี่ยวกับผู้ป่วยโรคมะเร็ง
ผู้กำกับหนังเมนสตรีมอินเดียยุคนี้ก็เชี่ยวชาญมากในการทำหนัง courtroom
drama ส่วนฮ่องกงก็ถนัดหนังบู๊ตำรวจ
เหมือนกับว่าแต่ละประเทศจะมีจุดแข็งต่างกันไป
ERWIN WURM THE ARTIST WHO SWALLOWED
THE WORLD (2012, Laurin Merz, documentary, 53min, A+15)
ชอบที่ Erwin
เล่าว่า ตอนแรกเขาไม่เชื่อเรื่องพลังจากความเจ็บปวดของชีวิต
จนกระทั่งเขาเจอมรสุมชีวิตอย่างรุนแรงมากในปีนึง และสูญเสียคนหลายคนในชีวิตไป
และหลังจากนั้นเขาก็พบว่างานของเขามันยกระดับขึ้นไปจากเดิมเป็นอย่างมาก
TELL (2007-2008, Erwin Wurm , video
installation , 7min, A+30)
I LOVE MY TIME, I DON'T LIKE MY TIME
(2003, Erwin Wurm, video installation, 9 min, A+30)
WITTGENSTEIN'S ALPHABET OF SPACE
CURVATURE: INSTRUCTIONS FOR ELIMINATING (2005, Erwin Wurm, video installation,
A+20)
AM I A HOUSE? (2005, Erwin Wurm,
video installation, 9min, A+30)
No comments:
Post a Comment