ตอบน้อง merveillesxx
ถ้าจำไม่ผิด ในละครเรื่อง SLOW DANCE เมื่อคืนนี้ มีการใช้เพลง CRAZY LOVE ของ VAN MORRISON มาประกอบด้วย โดยก่อนหน้านี้เพลงนี้เคยถูกใช้ประกอบภาพยนตร์เรื่อง “ไฟฝันควันรัก” หรือ ALWAYS (1989, STEVEN SPIELBERG, A+) มาแล้ว
ตอบน้องสะใภ้ PETER SARSGAARD
เห็นคุณ OLIVER อยากรู้ว่า DELIVERY SEXY LOVE เป็นยังไง แต่ไม่มีใครยอมเสี่ยงตายเข้าไปดูหนังเรื่องนี้ ก็เลยขอแนะนำให้เข้าไปอ่านความเห็นของคุณ “ตี๋หล่อมีเสน่ห์” ใน BLOG ของเขาค่ะ เขาให้คะแนนหนังเรื่องนี้ 2.5/10
http://www.bloggang.com/viewdiary.php?id=storyinthepast&group=24&month=07-2006&date=26&blog=1
ตอบคุณ TARENCE
ไม่รู้ว่าคุณ TARENCE ชอบ LISA FISCHER หรือเปล่า ดิฉันชอบเสียงร้องของเธอมากเลยค่ะ
ดูมิวสิควิดีโอ HOW CAN I EASE THE PAIN ของ LISA FISCHER ได้ที่
http://www.youtube.com/watch?v=gyypMwjwVwY&search=lisa%20fischer
ส่วนเพลงนี้คุณ TARENCE คงฟังจนเบื่อแล้ว นั่นก็คือเพลง COME IN OUT OF THE RAIN ของ WENDY MOTEN
http://youtube.com/watch?v=hd0cpPAukPY
นักร้องคนโปรดอีกคนของดิฉันคือ LINDA EDER เชิญฟังเพลง IF I HAD MY WAY ของเธอได้ที่นี่ค่ะ
http://youtube.com/watch?v=DFdAW_IEYGA&search=linda%20eder
ตอบคุณแฟรงเกนสไตน์
เห็นคุณแฟรงเกนสไตน์บอกว่าอยากให้มีการดัดแปลง SOPHIE SCHOLL – THE FINAL DAYS มาเป็นละครเวที ก็เลยนึกได้ว่าถ้าหากเป็นหนังไทย หนังเรื่อง “อำแดงเหมือนกับนายริด” (A) ก็อาจจะดัดแปลงมาเป็นละครเวทีที่ทรงพลังได้เช่นกัน
ตอบคุณเทวดาตกสวรรค์
ยินดีต้อนรับเข้าสู่เว็บบอร์ดนี้ค่ะ ดีใจมากเลยที่มีคนใหม่ๆเข้ามาเรื่อยๆ
ยังไม่ได้ดู THE SQUID AND THE WHALE เลยค่ะ แต่รู้สึกประทับใจกับหนังอินดี้อเมริกันในช่วง 2-3 ปีหลังมากๆ ซึ่งรวมถึงหนังเรื่อง
1.CAPOTE (2005, BENNETT MILLER, A+)
2.THE ASSASSINATION OF RICHARD NIXON (2004, NIELS MUELLER, A+)
3.TARNATION (2003, JONATHAN CAOUETTE, A+)
4.I AM A SEX ADDICT (2005, CAVEH ZAHEDI, A+)
5.OFF THE MAP (2003, CAMPBELL SCOTT, A+)
6.TRANSAMERICA (2005, DUNCAN TUCKER, A+)
7.A HOME AT THE END OF THE WORLD (2004, MICHAEL MAYER, A+)
8.KINSEY (2004, BILL CONDON, A+)
9.SAVING FACE (2004, ALICE WU, A+)
10.PRETTY PERSUASION (2005, MARCOS SIEGA, A+/A)
11.DOWN IN THE VALLEY (2005, DAVID JACOBSON, A)
12.UNDERTOW (2004, DAVID GORDON GREEN, A)
http://images.amazon.com/images/P/B0007R4T3K.01._SS500_SCLZZZZZZZ_V1110315658_.jpg
13.THE WOODSMAN (2004, NICOLE CASSELL, A)
รู้สึกว่าหนังอินดี้อเมริกันที่ได้ดูในช่วง 2-3 ปีมานี้ ถ่ายทอดความเป็นมนุษย์ของตัวละครออกมาได้ดีมากๆเลยค่ะ
ส่วนหนังอินดี้อเมริกันที่อยากดูที่สุดในตอนนี้คือเรื่อง OLD JOY (2006, KELLY REICHARDT) ที่ได้รับรางวัลไทเกอร์ อวอร์ดจากเทศกาลภาพยนตร์รอตเตอร์ดัมปีนี้ค่ะ โดยได้รับรางวัลไทเกอร์ร่วมกับ WALKING ON THE WILD SIDE (HAN JIE) และ THE DOG POUND (MANUEL NIETO ZAS)
http://www.spiritualityandpractice.com/films/films.php?id=15359
OLD JOY มีเนื้อหาเกี่ยวกับชายหนุ่มสองคนที่เคยเป็นเพื่อนเก่ากัน ทั้งสองกลับมาเจอกันอีกครั้ง ไปเที่ยวป่าด้วยกัน พูดคุยกัน และพบว่ามิตรภาพระหว่างทั้งสองได้สิ้นสุดลงแล้ว จุดเด่นของหนังเรื่องนี้คือการที่หนังแทบไม่มีพล็อตเรื่องและแทบไม่มีเหตุการณ์ใดๆเกิดขึ้นในเรื่อง
มาร์ค (แดเนียล ลอนดอน) ได้รับโทรศัพท์จากเคิร์ท (วิล โอลด์แฮม) อย่างไม่คาดฝัน โดยเคิร์ทชวนมาร์คไปตั้งแคมป์ด้วยกันนอกเมืองพอร์ทแลนด์ รัฐโอเรกอน โดยไปตั้งแคมป์กันตรงจุดที่สวยงามที่ตั้งอยู่ใกล้น้ำพุร้อน ทางด้านภรรยาผู้ตั้งครรภ์ของมาร์ค (ทันย่า สมิธ) ไม่ต้องการให้สามีไปตั้งแคมป์ แต่เธอก็รู้ว่าเธอไม่มีทางห้ามเขาได้ ทั้งมาร์คและเคิร์ทไม่ได้เจอกันมานานแล้ว และตอนนี้เคิร์ทก็ตกงานและกำลังจะถูกไล่ออกจากบ้านเช่า และทางเดียวที่จะทำให้เคิร์ทรู้สึกดีขึ้นได้ก็คือการได้พบกับมาร์คอีกครั้ง
ทั้งสองพูดคุยกันถึงเรื่องต่างๆหลายเรื่อง มาร์คคุยเรื่องพ่อแม่ของเขา ส่วนเคิร์ทคุยเรื่องช่วงเวลาที่เปลี่ยนแปลงตัวเขาในเมืองแอชแลนด์ ทั้งสองรู้สึกเสียใจที่ร้านขายแผ่นเสียงอินดี้ที่ทั้งสองเคยชื่นชอบได้กลายไปเป็นบาร์เครื่องดื่มเพื่อสุขภาพที่มีชื่อว่า REJUICENATION เสียแล้ว ไม่มีสิ่งใดเหมือนเดิมอีกต่อไป
เคิร์ทกับมาร์คนั่งข้างกองไฟด้วยกัน เคิร์ทเล่าว่าเขากำลังเข้าชั้นเรียนตอนกลางคืนซึ่งสอนฟิสิกส์ และเขามีทฤษฎีว่าจักรวาลมีรูปร่างเหมือนหยดน้ำตาที่กำลังจะร่วงลง ส่วนมาร์คนั้นฟังอยู่เฉยๆและแทบไม่ตอบอะไร มาร์คกล่าวว่าเขากำลังตั้งตารอที่จะได้เป็นพ่อคน ส่วนเคิร์ทบอกมาร์คว่ามีอะไรบางอย่างมาขวางกั้นความสัมพันธ์ของคนทั้งสองแล้ว มาร์คปฏิเสธว่าไม่มีอะไรเปลี่ยนแปลงไป
หนังเรื่องนี้แสดงให้เห็นว่ามาร์คและเคิร์ทเคยเป็นคนที่อยู่ในโลกเดียวกัน แต่ตอนนี้ทั้งสองอยู่กันคนละโลกแล้ว ทั้งสองไม่มีอะไรเหมือนกันอีกต่อไปแล้ว นอกจากความทรงจำที่มีต่ออดีตเท่านั้น
เว็บไซท์ SPIRITUALITY AND HEALTH ให้ความเห็นว่า OLD JOY แสดงให้เห็นว่า มิตรภาพเป็นสิ่งที่ไม่ยั่งยืนถาวร และถึงแม้การสูญเสียมิตรภาพไปจะเป็นเรื่องที่น่าเศร้า แต่การยึดติดกับมันก็เป็นการปฏิเสธความเป็นจริงที่ว่าใดๆในโลกล้วนอนิจจัง มาร์คได้สละทิ้งมิตรภาพนี้ไปและก้าวเข้าสู่ชีวิตใหม่แล้ว ส่วนเคิร์ทนั้นต้องการจะเหนี่ยวรั้งมิตรภาพที่เขาเก็บถนอมไว้ในใจมานานหลายปีไว้ต่อไป แต่ในที่สุดแล้ว ก็เหลือเพียงเขาเท่านั้นที่ต้องเดินเตร็ดเตร่อยู่ตามลำพังในเมือง และไม่มีใครหรือสถานที่ใดที่สามารถให้ความอบอุ่นแก่หัวใจเขาได้อีกต่อไป
เว็บไซท์ของ OLD JOY
http://www.oldjoymovie.com/
http://64.33.65.238/films/old_joy.jpg
Old Joy is a film about absences and silences, lacks and wants; abandoned things lost things, missing things.
อย่าจำหนังเรื่องนี้สลับกับหนังโปแลนด์เรื่อง ODE TO JOY (2005, ANNA KAZEJAK-DAWID + JAN KOMASA + MACIEJ MIGAS)
ตอบคุณ pink 0700
ความแก่ไม่เคยปราณีใครจริงๆๆ แต่หยวนๆๆน่า ดูอย่างดาราเด็กที่เล่นเรื่อง 400 blows เทียบกับตอนที่ได้ดู pornographer นี่แบบว่าหมดอารมณ์จริงๆๆครับ
ดาราเด็กคนนั้นชื่อ JEAN-PIERRE LEAUD ค่ะ ดิฉันชอบเขาตอนหนุ่มมากๆเช่นกัน หล่อน่ารักสุดๆ แต่ตอนนี้เขาก็ไม่เหลือเค้าเดิมเลยแม้แต่น้อย
ลองนึกทบทวนดูแล้ว พบว่าดิฉันชอบดาราชายชื่อ JEAN มากมายหลายคนด้วยกัน
สามี 11 คนของดิฉันที่มีชื่อว่า JEAN
1.JEAN SOREL (1934)
http://www.imdb.com/name/nm0814799/
http://www.cyranos.ch/sbsorel.jpg
http://i.imdb.com/Photos/Mptv/1236/6231_0020.jpg
ชอบเขาอย่างสุดๆจากเรื่อง BELLE DE JOUR (1967, LUIS BUNUEL, A+)
2.JEAN-PIERRE LEAUD
3.JEAN-LOUIS TRINTIGNANT (1930)
ชอบเขาอย่างสุดๆจาก MY NIGHT AT MAUD’S (1969, ERIC ROHMER, A+)
รูปของ JEAN-LOUIS TRINTIGNANT ใน VIOLENT SUMMER (1959, VALERIO ZURLINI)
http://a69.g.akamai.net/n/69/10688/v1/img5.allocine.fr/acmedia/medias/nmedia/18/36/15/21/18653581.jpg
ดีวีดีหนังเรื่อง VIOLENT SUMMER มีวางขายแล้วตั้งแต่วันที่ 30 พ.ค.ปีนี้
http://images.amazon.com/images/P/B000F48DAK.01._SS500_SCLZZZZZZZ_V56511778_.jpg
4.JEAN-CLAUDE BRIALY (1933)
ชอบเขาอย่างสุดๆในหนังเรื่อง HANDSOME SERGE (1958, CLAUDE CHABROL, A)
http://images.amazon.com/images/P/6304306938.01._SS500_SCLZZZZZZZ_V1122570070_.jpg
รูปของ JEAN-CLAUDE BRIALY จากหนังเรื่อง KING OF HEARTS (1966, PHILIPPE DE BROCA)
http://a69.g.akamai.net/n/69/10688/v1/img5.allocine.fr/acmedia/medias/nmedia/18/62/82/66/18656052.jpg
ปกดีวีดี KING OF HEARTS
http://images.amazon.com/images/P/B000059H9D.01._SS500_SCLZZZZZZZ_V1056685339_.jpg
JEAN-CLAUDE BRIALY ใน CLAIRE’S KNEE (1970, ERIC ROHMER, A+/A)
http://a69.g.akamai.net/n/69/10688/v1/img5.allocine.fr/acmedia/medias/nmedia/18/35/46/89/18395916.jpg
5.JEAN-PIERRE LORIT
เคยชอบดาราหนุ่มคนนี้มากๆจากหนังเรื่อง A MATTER OF TASTE (2000, BERNARD RAPP, A/A-)
รูปของ JEAN-PIERRE LORIT จากหนังเรื่อง A PERFECT FRIEND (2006, FRANCIS GIROD)
http://a69.g.akamai.net/n/69/10688/v1/img5.allocine.fr/acmedia/medias/nmedia/18/36/35/17/18603781.jpg
http://a69.g.akamai.net/n/69/10688/v1/img5.allocine.fr/acmedia/medias/nmedia/18/36/35/17/18476797.jpg
6.JEAN-CLAUDE VAN DAMME
7.JEAN-YVES BERTELOOT (1958)
เขาเล่นเป็นผู้ร้ายใน THE DA VINCI CODE
8.JEAN-MARC BARR (1960)
เขาดูน่ากินมากๆใน THE BIG BLUE (1988, LUC BESSON) แต่หลังจากนั้นเขาก็หมดอายุการใช้งานอย่างรวดเร็ว
รูปของ JEAN-MARC BARR ใน SALTIMBANK (2003, JEAN-CLAUDE BIETTE, A+++++)
http://a69.g.akamai.net/n/69/10688/v1/img5.allocine.fr/acmedia/medias/nmedia/18/35/12/12/affiche.jpg
JEAN-MARC BARR ใน BEING LIGHT (2001, JEAN-MARC BARR + PASCAL ARNOLD)
http://a69.g.akamai.net/n/69/10688/v1/img5.allocine.fr/acmedia/medias/nmedia/00/02/36/20/affb.jpg
9.JEAN-HUGUES ANGLADE (1955)
เคยชอบเขามากๆใน LA FEMME NIKITA (LUC BESSON, A+)
รูปของ JEAN-HUGUES ANGLADE ใน TONKA (1997, JEAN-HUGUES ANGLADE)
http://a69.g.akamai.net/n/69/10688/v1/img5.allocine.fr/acmedia/medias/nmedia/18/36/24/99/18465329.jpg
10.JEAN MARAIS (1913-1998)
ดาราหนุ่มคู่ขาเกย์ของ JEAN COCTEAU ดิฉันชอบเขามากๆจากหนังเรื่อง ORPHEUS (1950, JEAN COCTEAU, A+) ค่ะ
รูปของ JEAN MARAIS ใน SOUVENIR (1948, JEAN DELANNOY)
http://a69.g.akamai.net/n/69/10688/v1/img5.allocine.fr/acmedia/medias/nmedia/18/36/13/42/18455328.jpg
11.JEAN-PIERRE AUMONT (1911-2001)
http://82.67.2.30/COUVERTURES/EF/EF32D.JPG
ยังไม่เคยดูหนังที่เขาแสดงตอนหนุ่มๆเลย แต่ดูรูปแล้วท่าทางตอนหนุ่มๆจะหล่อดี เคยดูผลงานของเขาแค่มินิซีรีส์เรื่อง THE BLOOD OF OTHERS (1984, CLAUDE CHABROL, A-) ที่มาฉายทางช่อง 3
http://images.amazon.com/images/P/B000E8REVQ.01._SS500_SCLZZZZZZZ_V51316656_.jpg
ตอบคุณ CHRIS’S GIRLFRIEND
--สำหรับความเห็นของคนอื่นๆที่มีต่อหนังเรื่องนั้น มันก็เป็นเพียง “ความเห็นของคนหนึ่งคน” เท่านั้นเองค่ะ คุณ CHRIS’S GIRLFRIEND อย่าได้กังวลใจไปเลย ดิฉันคิดว่าความเห็นของคนแต่ละคนที่มีต่อหนังเรื่องนึง มันย่อมจะสะท้อน “สิ่งที่อยู่ภายในตัวคนดูหนัง” คนนั้นออกมาด้วย เพราะฉะนั้นเวลาคุณ CHRIS’S GIRLFRIEND อ่านความเห็นของใคร ก็อาจจะคิดไปด้วยก็ได้ค่ะว่า การที่ “เขารัก/เกลียดหนังเรื่องนั้น” หลายๆครั้งมันสะท้อนว่า “คนๆนั้นเป็นคนยังไง” มากกว่าจะสะท้อนว่า “หนังเรื่องนั้นเป็นหนังยังไง”
ยกตัวอย่างง่ายๆอย่างเช่นตัวดิฉันเอง การที่ดิฉันให้ WOLF CREEK ติดอันดับ 3 ประจำครึ่งปีแรก และให้ ALWAYS: SUNSET ON THIRD STREET ติดอันดับ 300 ประจำครึ่งปีแรก มันย่อมจะสะท้อนได้เป็นอย่างดีว่าดิฉันเป็นคนอย่างไร มากกว่าจะสะท้อนว่าหนังสองเรื่องนี้เป็นหนังดีหรือเลวยังไง เป็นต้น ฮ่าๆๆๆๆ
--ดิฉันเองไม่ได้นับถือศาสนาอะไร ก็อยากจะให้คำแนะนำเรื่องสรรเสริญ/นินทาแบบข้างๆคูๆ งูๆปลาๆ ไม่รู้เหมือนกันว่าจะมีประโยชน์กับคุณ CHRIS’S GIRLFRIEND หรือเปล่า บางทีมันอาจจะไม่มีประโยชน์อะไร คิดซะว่าดิฉันเขียนเล่นๆสนุกๆบ้าๆบอๆแล้วกันนะคะ
คิดว่าถ้าหากละการติดยึดใน “สรรเสริญ” “นินทา” ได้ ชีวิตเราก็จะมีความสุขขึ้นเยอะค่ะ แต่มันก็ยากเหมือนกัน เวลาที่เราได้รับคำชมหรือคำสรรเสริญ จิตใจเราก็จะฟูฟ่อง ล่องลอย มีความสุขมากๆ อัตตาของเราก็จะใหญ่ขึ้น โตขึ้น และ “ความสุข” ที่เราได้รับจากคำสรรเสริญนี่แหละ ที่จะเป็น “เหตุแห่งทุกข์” ทำให้เราทุกข์ใจในภายหลังเมื่อเราได้รับคำว่าด่าว่านินทา ทางที่ดีก็คือต้องพยายามรู้ทันจิตของเราตลอดเวลา เมื่อเราได้รับคำสรรเสริญยกย่องชมเชย เราก็ต้องรู้ตัวว่าตอนนี้เราดีใจนะ แต่เราจะต้องไม่ติดยึดกับคำสรรเสริญเหล่านี้เป็นอันขาดนะ เพราะถ้าเราติดยึดมีความสุขระรื่นกับคำสรรเสริญมากเท่าไหร่ จิตใจเราก็จะถูกทำร้ายด้วยคำด่าว่านินทาได้ง่ายยิ่งขึ้นเท่านั้น เมื่อเราได้รับคำชม เราก็ดีใจได้ แต่อย่างมีสติ เตือนตัวเองตลอดเวลาว่าถ้าหากในวันหลังเราได้รับคำด่า เราก็จะต้องไม่เสียใจเป็นอันขาด ดิฉันคิดว่าถ้าหากเรามีสติรู้ตัวตลอดเวลา และไม่ดีใจมากเกินไปกับคำสรรเสริญ จิตใจเราก็อาจจะวางเฉยได้ง่ายยิ่งขึ้นกับคำนินทาที่เราอาจได้รับในภายหน้าค่ะ เพราะถ้าหาก “ความสุข” ของเราไม่ได้ขึ้นอยู่กับคำสรรเสริญแล้ว ความทุกข์ของเราก็จะไม่เกิดจากคำนินทาเช่นเดียวกัน แต่ในความเห็นส่วนตัวของดิฉันเองนั้น การทำใจให้ “ไม่ทุกข์ไม่สุข” (เขาเรียกว่า “อุเบกขา” หรือเปล่านะ) กับคำสรรเสริญนินทานั้น เป็นเรื่องที่ยากมากๆ แต่ถ้ายิ่งเราพยายามทำ ฝึกฝนจิตใจตัวเองในจุดนี้ได้มากเท่าไหร่ เราก็จะยิ่งมีความสุขมากเท่านั้นค่ะ (สุขแบบจริงๆ ไม่ใช่สุขแบบหลอกๆเพราะคำสรรเสริญอันไม่จีรังยั่งยืน) เราไม่มีทางห้ามคนไม่ให้ด่าเราได้ ถึงแม้เราทำดีมากเพียงใด มันก็ต้องมีคนที่เกลียดเราด่าเราอยู่ดี (ดูอย่างคนดีๆอย่างพระพุทธเจ้าสิ ยังเจอนางจิญจมาณวิกามาด่าว่าว่าทำให้นางตั้งท้องเลย) สิ่งเดียวที่เราทำได้ ไม่ใช่ “การควบคุมคนอื่นไม่ให้ด่าเรา” แต่เป็น “การทำใจเราให้วางเฉยต่อคำด่า” ค่ะ
รู้สึกโบราณจะมีคำกล่าวว่า “อันนินทากาเลเหมือนเทน้ำ ไม่ชอกช้ำเหมือนเอาตูดไปครูดหิน” ค่ะ (เอ๊ะ ดิฉันต้องจำผิดแน่ๆเลย)
ว้าย รู้สึกว่าตัวเองเขียนอะไรไร้สาระที่ไม่เกี่ยวข้องกับคุณ CHRIS’S GIRLFRIEND เลย รู้สึกว่าสิ่งที่ดิฉันเขียนไปนั้นเป็นสิ่งที่ดิฉันพยายามเตือนสติสอนตัวเองมากกว่า แหะๆ ขออภัยค่ะ
--ยังไม่ได้ดู LOVER’S CONCERTO เลยค่ะ
--พูดถึงหนังผู้หญิงฆ่ากัน แล้วนึกถึง THE DESCENT (2005, NEIL MARSHALL, A+) ค่ะ ล่าสุดนี้นิตยสาร FILM COMMENT ได้สอบถาม NEIL MARSHALL เกี่ยวกับ 10 หนังที่เขาชอบในแบบ GUILTY PLEASURES ด้วย
10 หนังสุดโปรดของ NEIL MARSHALL ได้แก่เรื่อง
1.1941 (1979, STEVEN SPIELBERG)
http://images.amazon.com/images/P/0783231032.01._SS500_SCLZZZZZZZ_V1122566908_.jpg
2.BATTLE BEYOND THE STARS (1980, JIMMY T. MURAKAMI)
http://images.amazon.com/images/P/B000055ZF1.01._SS500_SCLZZZZZZZ_V1056683168_.jpg
3.EXCALIBUR (1981, JOHN BOORMAN)
http://images.amazon.com/images/P/6305558167.01._SS500_SCLZZZZZZZ_V1056623014_.jpg
4.TOP SECRET (1984)
http://images.amazon.com/images/P/B000066C6Z.01._SS500_SCLZZZZZZZ_V1057228183_.jpg
5.RACE FOR THE YANKEE ZEPHYR (1981, DAVID HEMMINGS)
In a lake high in the mountains of New Zealand hunter Gibbie Gibson discovers a plane wreck from ww-ii. When he tells it around, a gang of crooks follows and threatens him and his daughter, because they know there are 50 million dollars in the wreck. Helicopter pilot Barney helps Gibbie against them, risking his life thereby.
6.HIGH RISK (1976, STEWART RAFFILL)
Four American friends, badly needing money, decide to make a commando-like raid into a South American country and steal $5 million from the hacienda of an American-born drug dealer who lives there. The four Americans then succeed rather easily in stealing the money, but soon run into trouble trying to get back out of the country, as both the drug dealer and a small army of bandits each hunt them down trying to get the money.
7.BIG TROUBLE IN LITTLE CHINA (1986, JOHN CARPENTER, B+)
8.THE SWORD AND THE SORCERER (1982, ALBERT PYUN)
http://ec1.images-amazon.com/images/P/B000059PP2.01._SS500_SCLZZZZZZZ_V1056685518_.jpg
9.THE LEGEND OF BOGGY CREEK (1972, CHARLES B. PIERCE)
http://images.amazon.com/images/P/B0000648XG.01._SS500_SCLZZZZZZZ_V1056710530_.jpg
หนังสารคดีตอแหลเกี่ยวกับตัวประหลาดบิ๊กฟุต
ตอบคุณอ้วน
--พูดถึงตัวละครพระเอกใน LADY IN THE WATER แล้วก็ทำให้นึกถึงนางเอกใน BEYOND RANGOON (1995, JOHN BOORMAN, A+) ค่ะ เพราะนางเอกใน BEYOND RANGOON เป็นหญิงสาวที่หมดอาลัยตายอยากในชีวิตหลังจากสามีและลูกๆถูกฆ่าตายหมดทั้งบ้านอย่างไม่มีเหตุผล แต่หลังจากเธอมาเที่ยวพม่า และได้พบกับความทุกข์เข็ญของประชาชนในพม่า เธอก็เลยมีกำลังใจจะมีชีวิตอยู่ต่อไปอีกครั้ง และจะพยายามช่วยเหลือชาวโลกผู้ทุกข์ยากให้มากที่สุดเท่าที่จะทำได้
วันนี้ได้ดูหนังสองเรื่องที่ห้องสมุดมหาลัยธรรมศาสตร์ ซึ่งก็คือ
1.THE CHAMPIONS (2003, CHRISTOPH HUBNER, A++++++++++)
http://www.imdb.com/title/tt0383977/
http://www.die-champions-der-film.de/spieler.php
ดูแล้วร้องห่มร้องไห้ หนังสารคดีเรื่องนี้ติดตามถ่ายทำชีวิตของนักฟุตบอลดาวรุ่งหนุ่มๆ ในทีมเยาวชนของเยอรมนีเป็นเวลา 5 ปี แต่นักฟุตบอลดาวรุ่งแต่ละคนในหนังเรื่องนี้ ต่างก็ไปไม่ถึงฝั่งฝันกันแทบทั้งนั้น พวกเขาเติบโตขึ้นมาเป็นเพียงตัวสำรองที่จะได้ลงแข่งเพียง 10 นาทีทุกๆ 6 เดือน หรือไม่ก็ไม่ได้ลงสนามเลย ต้องนั่งเป็นตัวสำรองอยู่ข้างสนามตลอดไป และเมื่อพวกเขาแก่ตัวลง เมื่อพวกเขาเข้าสู่วัยกลางคน พวกเขาก็ทำได้เพียงแค่ทำงานในโรงงานผลิตสินค้าของสโมสรฟุตบอลเท่านั้น และได้แต่รำลึกว่า ช่วงเวลาที่ดีที่สุดของชีวิตตัวเองคือช่วงที่พวกเขาได้เล่นในทีมเยาวชนอายุไม่เกิน 18 ปี
มีนักฟุตบอลลูกครึ่งไทยในหนังเรื่องนี้ด้วย เขาชื่อ HEIKO HESSE และหน้าตาน่ารักมากๆ เขารู้ตัวเองดีว่าอย่างมากเขาก็เป็นได้แค่ตัวสำรอง เขาก็เลยพยายามเอาดีทางการเรียนหนังสือแทน
ส่วนหนุ่มชิลีในหนังเรื่องนี้ไม่โชคดีเท่า เขาออกจากโรงเรียนตั้งแต่อายุ 14 ปีเพื่อมาเตะฟุตบอลในเยอรมนี และเมื่อเขาไม่มีวันก้าวขึ้นมาเป็น “ตัวจริง” ในการแข่งขัน เขาก็แทบไม่มีทางออกที่ดีให้กับอนาคตของตัวเอง และเขาก็หายสาบสูญไปในที่สุด
หนึ่งในฉากที่ชอบที่สุดในหนังเรื่องนี้ คือฉากที่หนุ่มชิลีสับสนกับภาษาเยอรมัน และเขาก็พูดภาษาเยอรมันอย่างผิดๆออกมาว่า THE DAY BEFORE YESTERDAY IS TOMORROW.
อีกฉากที่ชอบมากก็คือฉากที่หนุ่มชิลีตอนตกอับมายืนดูเด็กๆเล่นฟุตบอลอย่างสนุกสนาน เขาหันมาบอกกับกล้องว่า “ผมรู้สึกหนาวเท้ามากๆ” พร้อมกับทำท่าคล้ายๆปาดน้ำตา
ดูหนังเรื่องนี้แล้วนึกถึงหนังสารคดีเรื่อง THE HOUSEWIFE’S FLOWER (1998, DOMINIK WESSELY, A+++++) ที่ติดตามถ่ายทำชีวิตของเซลส์แมนหนุ่มๆที่ขายเครื่องดูดฝุ่นให้กับบรรดาแม่บ้านในเยอรมนี หนังสารคดีทั้งสองเรื่องนี้ไม่ได้ให้หนุ่มๆนักฟุตบอลหรือหนุ่มๆเซลส์แมนมาร้องห่มร้องไห้ต่อหน้ากล้อง แต่ดิฉันดูแล้วรู้สึกอยากร้องไห้ทั้งสองเรื่อง เพราะหนังทั้งสองเรื่องนี้แสดงให้เห็นเป็นอย่างดีว่าชีวิตคนธรรมดาบางคนมันลำบากยากแค้นแสนเข็ญมากเพียงใด และมันเป็นชีวิตคนธรรมดาที่ไม่มีวันได้รับ “โอกาสทอง” ในชีวิตแบบที่ตัวละครพระเอกหนังส่วนใหญ่มักจะได้รับ
http://ec3.images-amazon.com/images/P/B000058DSV.01._SS500_SCLZZZZZZZ_V1132480855_.jpg
สิ่งที่ทำให้ดิฉันร้องไห้ใน THE CHAMPIONS ก็คือ “แววตา” ของนักฟุตบอลหนุ่มๆในเรื่อง นักฟุตบอลหนุ่มๆเหล่านี้ไม่ได้ร้องไห้ชัดๆเลย แต่ในช่วงต้นเรื่อง เราได้เห็นดวงตาของพวกเขา “เปล่งประกายสดใส” ดวงตาของพวกเขาเต็มเปี่ยมไปด้วยความฝัน, ความหวัง และความสุข แต่ขณะที่เนื้อเรื่องดำเนินไป “ประกาย” ก็ค่อยๆหายไปจากดวงตาของพวกเขา ดวงตาของพวกเขาแห้งผากขึ้นเรื่อยๆ ดวงตามันดู “ด้าน” ขึ้นเรื่อยๆ มันเป็นดวงตาของคนที่ไม่มีความหวังในชีวิตหลงเหลืออยู่อีกแล้ว
2.FOOTBALL AS NEVER BEFORE (1971, HELLMUTH COSTARD, A+++++)
ดูหนังเรื่องนี้แล้วรู้สึกเหมือนดูหนังโป๊ เพราะมันกระตุ้นตัณหาราคะในตัวดิฉันอย่างรุนแรงมากทั้งๆที่หนังเรื่องนี้ไม่มีฉากโป๊เลยแม้แต่นิดเดียว การดูหนังเรื่องนี้ทำให้ดิฉันรู้สึกเหมือนได้ร่วมรักกับ GEORGE BEST สองรอบ รอบละ 45 นาทีติดต่อกัน และได้ลูบไล้สัมผัสท่อนล่างของ GEORGE BEST อย่างเต็มที่
http://www.soccernet.com/design05/images/PH/Best69_Empics.jpg
Sunday, July 30, 2006
animal farm
ดูภาพละครได้ที่ http://www.212cafe.com/freewebboard/view.php?user=lakorn&id=398 หน้ากากเปลือยส่งละครร่วมมหกรรมละครสั้น ด้วย INSTALL เป็นการนำเอานักแสดงเยาวชนจากชมรมหน้ากากใหม่ที่สนใจจะฝึกฝนการแสดงอย่างต่อเนื่องมาสู่การสร้างสรรค์งานละครที่มีเนื้อหาจริงจังและซับซ้อนยิ่งขึ้น
แต่ก็ยังคงประเด็นที่เกี่ยวข้องกับเยาวชนไว้อย่างเดิม
โดยในคราวนี้ทางกลุ่มตั้งใจจะพาคนดูเข้าไปสู่วัฒนธรรมใหม่ที่เกิดขึ้นใน โลกไซเบอร์เสปซที่มีอิทธิพลต่อวัยรุ่นสมัยนี้เป็นอย่างมาก ผ่านมุมมองของเยาวชน โดยอิงโครงเรื่องจากงานเขียนของนักเรียน ม.ปลาย อายุ 17 ปี ที่ชื่อ Wataya Risa และได้รับรางวัล Bungei Literary Award ของ Yomiuri Shimbun จากวรรณกรรมชิ้นเยี่ยมที่สะท้อนความคิดและการกระทำ ของวัยรุ่นญี่ปุ่นยุคอินเตอร์เนทได้อย่างเฉียบคม
และสมจริงจนน่าตกใจ มาสู่การแสดงละครเวทีจากกลุ่มหน้ากากเปลือย ในรูปแบบมันฮาแต่เปรี้ยวจี๊ดในอก
ว่าด้วยเรื่องของสาวน้อยไฮสคูลคนหนึ่ง ชื่อ “อาซาโกะ” ที่เซ็งชีวิตวัยเรียนสุดขีดเลยปรึกษา เพื่อนสนิท “โคอิจิ” กิ๊กหนุ่มของครูประจำชั้น ให้ช่วยทำให้เธอขาดเรียนได้โดยไม่ต้องเสียคะแนน ซึ่งเขาก็หว่านเสน่ห์ได้สำเร็จ ผลก็คือ
เธอเป็นอิสระจากชีวิตโรงเรียนได้ตามใจอยาก และเธอก็ใช้ช่วงเวลาของเสรีภาพนี้ ด้วยการแอบขนของในห้องขายไปวันๆ จนกระทั่งเธอได้พบกับเด็กประถม “คาซิโยชิ” ทีมาขอซื้อคอมพิวเตอร์ไปใช้ ความสัมพันธ์อันแปลกประหลาด ระหว่างสาวน้อยไฮสคูล กับ เด็กประถมแก่แดดก็เริ่มต้นขึ้น
ผ่านการผจญภัยในโลกไซเบอร์เสปซที่ทำให้วัยเยาว์ของทั้งคู่ ต้องบิดเบี้ยวไปในทางที่หลายคนคาดไม่ถึง
ผลงานชิ้นนี้เป็นการร่วมกำกับระหว่าง นินาท บุญโพธิ์ทอง และ พัชร์รุจา กาญจนโกศล จากหน้ากากเปลือยสตูดิโอ
และร่วมสร้างสรรค์บทโดยนักแสดงเยาวชนจากชมรมหน้ากากใหม่
เตรียมจัดแสดงที่ร้านเฮมล๊อค ถ.พระอาทิตย์ ในวันเสาร์-อาทิตย์ที่ 26 - 27 สิงหาคม และ 2 - 3 กันยายน
2549 เวลา 18.00 น บัตรราคา 100 บาท
ติดต่อสอบถามรายละเอียดได้ที่ 0-1291-0096
และ 0-6722-1435 หรือ
drmaker_nin@hotmail.com
ภาควิชาศิลปะการละคร คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ชวนชมละครเวที "Animal Farm...การเมืองเรื่องสัตว์ๆ" เรื่องเกิดขึ้นในฟาร์มแห่งหนึ่ง ให้ดูเรื่องราวของสัตว์เลี้ยงในฟาร์มที่จะทำการปฏิวัติเจ้านายที่ไม่ค่อยใส่ใจพวกเขา บรรดาสัตว์ที่ว่าจึงไล่จอห์นออกไปจากไร่ จากนั้นแกนนำทั้ง 3 ได้แก่ นโปเลียน สโนว์บอล สควีลเลอร์ ได้ตั้งกฎขึ้นมาภายใต้แนวคิด "4 ขาดี 2 ขาเลว" โดยมีกฎอยู่ 7 ข้อ แต่ต่อมากฎก็มีการเปลี่ยนแปลงและเอื้อประโยชน์ให้บางกลุ่ม บางพวกอยู่ดีละครเรื่องนี้จะแสดงที่โรงละครคณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ชั้น 3 ตึกอักษรศาสตร์ 4 ตั้งแต่วันพุธ 16 สิงหาคมถึงวันอาทิตย์ที่ 3 กันยายน โดยวันพุธ-ศุกร์ แสดงรอบ 18.30 น. วันเสาร์ 14.00 น. และ 18.30 น. และวันอาทิตย์รอบ 14.00 น. ซื้อบัตรได้ที่ ภาควิชาศิลปะการละคร โทร.0-2218-4802 ศูนย์หนังสือจุฬาฯ 0-2255-4433
http://www.amazon.com/gp/product/B0000365DS/sr=8-4/qid=1154209653/ref=pd_bbs_4/104-7772166-4126305?ie=UTF8
http://ec1.images-amazon.com/images/P/B0000365DS.01._SS500_SCLZZZZZZZ_V1118799546_.jpg
BUS STOP (NATHANIEL RACKOWE)
http://www.rackowe.com/page13/files/page13-1000-full.jpg
LP3 (NATHANIEL RACKOWE)
http://www.rackowe.com/page13/files/page13-1002-full.jpg
NUMBER 101 (2006, RANA BEGUM)
http://rackowe.com/rana/page8/files/page8-1001-full.jpg
--อันนี้เป็นรูปของงานศิลปะ AWAY FROM THE FLOCK (1994) ของ DAMIEN HIRST
http://www.artchive.com/artchive/h/hirst/hirst_flock.jpg
--MOTHER AND CHILD, DIVIDED (1993, DAMIEN HIRST)
http://www.consciousart.de/galleries/herausforderung/images/hirst-mother.jpg
--THE ELUSIVE TRUTH (DAMIEN HIRST)
http://imagecache2.allposters.com/images/pic/AWI/GH1120~The-Elusive-Truth-Posters.jpg
--SCREENPRINT (2001, DAMIEN HIRST)
http://www.marcodimauro.org/Damien.Hirst-Screenprint-2001.jpg
--DAMIEN HIRST
http://www.clivearrowsmith.co.uk/galleries/blackandwhite/images/Damien-Hirst-20021-copy.jpg
--SENSATION (DAMIEN HIRST)
http://www.civita.it/portale/eventiallegati/V00094.jpg
--เข้าใจว่าบางฉากในหนังเรื่อง THE CELL (2000, TARSEM SINGH, A-) ได้รับอิทธิพลมาจาก DAMIEN HIRST
--ADAM CHODZKO
http://www.adamchodzko.com/
--M-PATH (2006, ADAM CHODZKO)
http://www.ridemedia.co.uk/adam/images%20for%20site/2006/m-path1.jpg
http://www.ridemedia.co.uk/adam/images%20for%20site/2006/m-path%203.jpg
--SWAP STORIES (2005, ADAM CHODZKO)
http://www.ridemedia.co.uk/adam/images%20for%20site/2005/swapstories.jpg
--YET (2005, ADAM CHODZKO)
http://www.ridemedia.co.uk/adam/images%20for%20site/2005/yet4.jpg
--TEST-TONE FOR LANDSCAPE (2005, ADAM CHODZKO)
http://www.ridemedia.co.uk/adam/images%20for%20site/2005/test-tone2.jpg
--VOLKER EICHELMANN
http://www.volkereichelmann.com/
--AFTER ALL (VOLKER EICHELMANN + ROLAND RUST)
http://www.rm-r.at/camouflage/modules/Images/data/afterall/cap005.jpg
--DACHSTEIN (VOLKER EICHELMANN + ROLAND RUST)
http://www.rm-r.at/camouflage/modules/Images/data/dachstein/p8037562.sized.jpg
--KAPRUN (VOLKER EICHELMANN + ROLAND RUST)
http://www.rm-r.at/camouflage/modules/Images/data/Kaprun/p8047770.sized.jpg
--OFFENSEE (VOLKER EICHELMANN+ROLAND RUST)
http://www.rm-r.at/camouflage/modules/Images/data/offensee/P8058119.sized.jpg
--MARCELLO TOWERS (VOLKER EICHELMANN + ROLAND RUST)
http://www.rm-r.at/camouflage/modules/Images/data/Martello-Towers/P4154917.sized.jpg
--PILGRIMAGE FROM SCATTERED POINTS (2006, LUKE FOWLER)
http://www.themoderninstitute.com/artists/l_fowler/index.shtml
http://www.themoderninstitute.com/artists/l_fowler/35.jpg
http://www.themoderninstitute.com/artists/l_fowler/33.jpg
--THE WAY OUT -- A PORTRAIT OF XENTOS JONES (2003, LUKE FOWLER)
http://www.themoderninstitute.com/artists/l_fowler/23.jpg
http://www.themoderninstitute.com/artists/l_fowler/19.jpg
--WHAT YOU SEE IS WHERE YOU’RE AT (2001, LUKE FOWLER)
http://www.themoderninstitute.com/artists/l_fowler/1.jpg
--TORSTEN LAUSCHMANN
http://www.axisartists.org.uk/ofSARF.aspx?SELECTIONID=50
--SLENDER WHITEMAN LIVE IN SAGRES (2002, TORSTEN LAUSCHMANN)
http://www.axisartists.org.uk/works/full/B189/030420CX.jpg
--THE DUST HAS COME TO STAY (2004, TORSTEN LAUSCHMANN)
http://www.axisartists.org.uk/works/full/B500/060208ae.jpg
--WE ARE (UNTITLED) (2001, MARK LECKEY)
http://www.migrosmuseum.ch/dynpics/werkepics/528.jpg
--OLIVER PAYNE + NICK RELPH
http://www.theblowup.com/nickoliver/main.htm
http://www.newyorkartworld.com/reviews/relph-payne.html
http://www.theblowup.com/nickoliver/img/lg-nick_tall.jpg
--PAUL ROONEY
http://www.axisweb.org/ofSARF.aspx?SELECTIONID=72
--LIGHTS GO ON. THE SONG OF THE NIGHTCLUB CLOAKROOM ATTENDANT (2001, PAUL ROONEY)
http://www.axisweb.org/works/full/B500/0500901dj.jpg
--FLAT 23 (2002, PAUL ROONEY)
http://www.axisweb.org/works/full/B500/0500901da.jpg
--TRANSFORMATION (2005, STEPHEN SUTCLIFFE)
http://www.tate.org.uk/britain/exhibitions/artnow/lightbox/novdec05/sutcliffe.shtm
http://www.tate.org.uk/britain/exhibitions/artnow/lightbox/novdec05/images/transformations.jpg
--SZUPER GALLERY
http://www.szuper.org/
--The strength of the system and my experiences of it, was that in fact, oddly enough,it was actually a very collaborative enterprise already' (2006, SZUPER GALLERY)
http://www.szuper.org/a-neu/teaching/Tap-Video-4.jpg
--MARK TITCHNER
http://dicksdaily.co.uk/dd4/dimages/14-04-04-01.jpg
--CAREY YOUNG
http://www.careyyoung.com/
--DECLARED VOID (2005, CAREY YOUNG)
http://www.careyyoung.com/images/considerationdeclaredvoid-hi.jpg
--TERMS AND CONDITIONS (2004, CAREY YOUNG)
http://www.careyyoung.com/images/termsandcond-hi.jpg
--TRUST ME (1997, DOUGLAS GORDON)
http://www.gandy-gallery.com/pict/douglas_gordon_invit.jpg
--AROUND THE FOOT (1995, ANDREW STAHL)
http://www.flowerseast.com/Originals/STAHL/22131.jpg
แต่ก็ยังคงประเด็นที่เกี่ยวข้องกับเยาวชนไว้อย่างเดิม
โดยในคราวนี้ทางกลุ่มตั้งใจจะพาคนดูเข้าไปสู่วัฒนธรรมใหม่ที่เกิดขึ้นใน โลกไซเบอร์เสปซที่มีอิทธิพลต่อวัยรุ่นสมัยนี้เป็นอย่างมาก ผ่านมุมมองของเยาวชน โดยอิงโครงเรื่องจากงานเขียนของนักเรียน ม.ปลาย อายุ 17 ปี ที่ชื่อ Wataya Risa และได้รับรางวัล Bungei Literary Award ของ Yomiuri Shimbun จากวรรณกรรมชิ้นเยี่ยมที่สะท้อนความคิดและการกระทำ ของวัยรุ่นญี่ปุ่นยุคอินเตอร์เนทได้อย่างเฉียบคม
และสมจริงจนน่าตกใจ มาสู่การแสดงละครเวทีจากกลุ่มหน้ากากเปลือย ในรูปแบบมันฮาแต่เปรี้ยวจี๊ดในอก
ว่าด้วยเรื่องของสาวน้อยไฮสคูลคนหนึ่ง ชื่อ “อาซาโกะ” ที่เซ็งชีวิตวัยเรียนสุดขีดเลยปรึกษา เพื่อนสนิท “โคอิจิ” กิ๊กหนุ่มของครูประจำชั้น ให้ช่วยทำให้เธอขาดเรียนได้โดยไม่ต้องเสียคะแนน ซึ่งเขาก็หว่านเสน่ห์ได้สำเร็จ ผลก็คือ
เธอเป็นอิสระจากชีวิตโรงเรียนได้ตามใจอยาก และเธอก็ใช้ช่วงเวลาของเสรีภาพนี้ ด้วยการแอบขนของในห้องขายไปวันๆ จนกระทั่งเธอได้พบกับเด็กประถม “คาซิโยชิ” ทีมาขอซื้อคอมพิวเตอร์ไปใช้ ความสัมพันธ์อันแปลกประหลาด ระหว่างสาวน้อยไฮสคูล กับ เด็กประถมแก่แดดก็เริ่มต้นขึ้น
ผ่านการผจญภัยในโลกไซเบอร์เสปซที่ทำให้วัยเยาว์ของทั้งคู่ ต้องบิดเบี้ยวไปในทางที่หลายคนคาดไม่ถึง
ผลงานชิ้นนี้เป็นการร่วมกำกับระหว่าง นินาท บุญโพธิ์ทอง และ พัชร์รุจา กาญจนโกศล จากหน้ากากเปลือยสตูดิโอ
และร่วมสร้างสรรค์บทโดยนักแสดงเยาวชนจากชมรมหน้ากากใหม่
เตรียมจัดแสดงที่ร้านเฮมล๊อค ถ.พระอาทิตย์ ในวันเสาร์-อาทิตย์ที่ 26 - 27 สิงหาคม และ 2 - 3 กันยายน
2549 เวลา 18.00 น บัตรราคา 100 บาท
ติดต่อสอบถามรายละเอียดได้ที่ 0-1291-0096
และ 0-6722-1435 หรือ
drmaker_nin@hotmail.com
ภาควิชาศิลปะการละคร คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ชวนชมละครเวที "Animal Farm...การเมืองเรื่องสัตว์ๆ" เรื่องเกิดขึ้นในฟาร์มแห่งหนึ่ง ให้ดูเรื่องราวของสัตว์เลี้ยงในฟาร์มที่จะทำการปฏิวัติเจ้านายที่ไม่ค่อยใส่ใจพวกเขา บรรดาสัตว์ที่ว่าจึงไล่จอห์นออกไปจากไร่ จากนั้นแกนนำทั้ง 3 ได้แก่ นโปเลียน สโนว์บอล สควีลเลอร์ ได้ตั้งกฎขึ้นมาภายใต้แนวคิด "4 ขาดี 2 ขาเลว" โดยมีกฎอยู่ 7 ข้อ แต่ต่อมากฎก็มีการเปลี่ยนแปลงและเอื้อประโยชน์ให้บางกลุ่ม บางพวกอยู่ดีละครเรื่องนี้จะแสดงที่โรงละครคณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ชั้น 3 ตึกอักษรศาสตร์ 4 ตั้งแต่วันพุธ 16 สิงหาคมถึงวันอาทิตย์ที่ 3 กันยายน โดยวันพุธ-ศุกร์ แสดงรอบ 18.30 น. วันเสาร์ 14.00 น. และ 18.30 น. และวันอาทิตย์รอบ 14.00 น. ซื้อบัตรได้ที่ ภาควิชาศิลปะการละคร โทร.0-2218-4802 ศูนย์หนังสือจุฬาฯ 0-2255-4433
http://www.amazon.com/gp/product/B0000365DS/sr=8-4/qid=1154209653/ref=pd_bbs_4/104-7772166-4126305?ie=UTF8
http://ec1.images-amazon.com/images/P/B0000365DS.01._SS500_SCLZZZZZZZ_V1118799546_.jpg
BUS STOP (NATHANIEL RACKOWE)
http://www.rackowe.com/page13/files/page13-1000-full.jpg
LP3 (NATHANIEL RACKOWE)
http://www.rackowe.com/page13/files/page13-1002-full.jpg
NUMBER 101 (2006, RANA BEGUM)
http://rackowe.com/rana/page8/files/page8-1001-full.jpg
--อันนี้เป็นรูปของงานศิลปะ AWAY FROM THE FLOCK (1994) ของ DAMIEN HIRST
http://www.artchive.com/artchive/h/hirst/hirst_flock.jpg
--MOTHER AND CHILD, DIVIDED (1993, DAMIEN HIRST)
http://www.consciousart.de/galleries/herausforderung/images/hirst-mother.jpg
--THE ELUSIVE TRUTH (DAMIEN HIRST)
http://imagecache2.allposters.com/images/pic/AWI/GH1120~The-Elusive-Truth-Posters.jpg
--SCREENPRINT (2001, DAMIEN HIRST)
http://www.marcodimauro.org/Damien.Hirst-Screenprint-2001.jpg
--DAMIEN HIRST
http://www.clivearrowsmith.co.uk/galleries/blackandwhite/images/Damien-Hirst-20021-copy.jpg
--SENSATION (DAMIEN HIRST)
http://www.civita.it/portale/eventiallegati/V00094.jpg
--เข้าใจว่าบางฉากในหนังเรื่อง THE CELL (2000, TARSEM SINGH, A-) ได้รับอิทธิพลมาจาก DAMIEN HIRST
--ADAM CHODZKO
http://www.adamchodzko.com/
--M-PATH (2006, ADAM CHODZKO)
http://www.ridemedia.co.uk/adam/images%20for%20site/2006/m-path1.jpg
http://www.ridemedia.co.uk/adam/images%20for%20site/2006/m-path%203.jpg
--SWAP STORIES (2005, ADAM CHODZKO)
http://www.ridemedia.co.uk/adam/images%20for%20site/2005/swapstories.jpg
--YET (2005, ADAM CHODZKO)
http://www.ridemedia.co.uk/adam/images%20for%20site/2005/yet4.jpg
--TEST-TONE FOR LANDSCAPE (2005, ADAM CHODZKO)
http://www.ridemedia.co.uk/adam/images%20for%20site/2005/test-tone2.jpg
--VOLKER EICHELMANN
http://www.volkereichelmann.com/
--AFTER ALL (VOLKER EICHELMANN + ROLAND RUST)
http://www.rm-r.at/camouflage/modules/Images/data/afterall/cap005.jpg
--DACHSTEIN (VOLKER EICHELMANN + ROLAND RUST)
http://www.rm-r.at/camouflage/modules/Images/data/dachstein/p8037562.sized.jpg
--KAPRUN (VOLKER EICHELMANN + ROLAND RUST)
http://www.rm-r.at/camouflage/modules/Images/data/Kaprun/p8047770.sized.jpg
--OFFENSEE (VOLKER EICHELMANN+ROLAND RUST)
http://www.rm-r.at/camouflage/modules/Images/data/offensee/P8058119.sized.jpg
--MARCELLO TOWERS (VOLKER EICHELMANN + ROLAND RUST)
http://www.rm-r.at/camouflage/modules/Images/data/Martello-Towers/P4154917.sized.jpg
--PILGRIMAGE FROM SCATTERED POINTS (2006, LUKE FOWLER)
http://www.themoderninstitute.com/artists/l_fowler/index.shtml
http://www.themoderninstitute.com/artists/l_fowler/35.jpg
http://www.themoderninstitute.com/artists/l_fowler/33.jpg
--THE WAY OUT -- A PORTRAIT OF XENTOS JONES (2003, LUKE FOWLER)
http://www.themoderninstitute.com/artists/l_fowler/23.jpg
http://www.themoderninstitute.com/artists/l_fowler/19.jpg
--WHAT YOU SEE IS WHERE YOU’RE AT (2001, LUKE FOWLER)
http://www.themoderninstitute.com/artists/l_fowler/1.jpg
--TORSTEN LAUSCHMANN
http://www.axisartists.org.uk/ofSARF.aspx?SELECTIONID=50
--SLENDER WHITEMAN LIVE IN SAGRES (2002, TORSTEN LAUSCHMANN)
http://www.axisartists.org.uk/works/full/B189/030420CX.jpg
--THE DUST HAS COME TO STAY (2004, TORSTEN LAUSCHMANN)
http://www.axisartists.org.uk/works/full/B500/060208ae.jpg
--WE ARE (UNTITLED) (2001, MARK LECKEY)
http://www.migrosmuseum.ch/dynpics/werkepics/528.jpg
--OLIVER PAYNE + NICK RELPH
http://www.theblowup.com/nickoliver/main.htm
http://www.newyorkartworld.com/reviews/relph-payne.html
http://www.theblowup.com/nickoliver/img/lg-nick_tall.jpg
--PAUL ROONEY
http://www.axisweb.org/ofSARF.aspx?SELECTIONID=72
--LIGHTS GO ON. THE SONG OF THE NIGHTCLUB CLOAKROOM ATTENDANT (2001, PAUL ROONEY)
http://www.axisweb.org/works/full/B500/0500901dj.jpg
--FLAT 23 (2002, PAUL ROONEY)
http://www.axisweb.org/works/full/B500/0500901da.jpg
--TRANSFORMATION (2005, STEPHEN SUTCLIFFE)
http://www.tate.org.uk/britain/exhibitions/artnow/lightbox/novdec05/sutcliffe.shtm
http://www.tate.org.uk/britain/exhibitions/artnow/lightbox/novdec05/images/transformations.jpg
--SZUPER GALLERY
http://www.szuper.org/
--The strength of the system and my experiences of it, was that in fact, oddly enough,it was actually a very collaborative enterprise already' (2006, SZUPER GALLERY)
http://www.szuper.org/a-neu/teaching/Tap-Video-4.jpg
--MARK TITCHNER
http://dicksdaily.co.uk/dd4/dimages/14-04-04-01.jpg
--CAREY YOUNG
http://www.careyyoung.com/
--DECLARED VOID (2005, CAREY YOUNG)
http://www.careyyoung.com/images/considerationdeclaredvoid-hi.jpg
--TERMS AND CONDITIONS (2004, CAREY YOUNG)
http://www.careyyoung.com/images/termsandcond-hi.jpg
--TRUST ME (1997, DOUGLAS GORDON)
http://www.gandy-gallery.com/pict/douglas_gordon_invit.jpg
--AROUND THE FOOT (1995, ANDREW STAHL)
http://www.flowerseast.com/Originals/STAHL/22131.jpg
DRIPPING (CHAKRAWAL NILTHAMRONG, A+)
http://www.ymdb.com/limonado/l30125_ukuk.html
I haven’t seen many old classic films, I hope to see them more in the future.
In your list I have seen only Pather Panchali (A), Children of Paradise (A+), The 400 Blows (A-), Tropical Malady (A+++++), Russian Ark (A+), A Man Escaped (A+++++), The River (A-), Unknown Pleasures (A+), Beau Travail (A+++++), The Gleaners and I (A+)
My favorite Satyajit Ray’s film is Days and Nights in the Forest (1970). My favorite Francois Truffaut’s film is Two English Girls. My favorite Krzysztof Kiewslowski’s film is A Short Film About Love. My favorite Apichatpong Weerasethakul’s film is Windows (1999). My favorite Sokurov’s film is The Sun. My favorite Bresson’s film is L’Argent. My favorite Fellini’s film is Juliet of the Spirits. My favorite Varda’s film is The Creatures (1966).
http://riverdale-dreams.blogspot.com/2006/07/blog-post_19.html
ดีจัง ได้ความรู้เรื่อง ESSENTIALIST กับ CONSTRUCTIONIST ด้วย
หนูเชื่อว่าตัวหนูเป็นเกย์มาตั้งแต่เกิดค่ะ เพราะหนูรู้สึกเงี่ยนผู้ชายตั้งแต่อยู่โรงเรียนอนุบาลแล้ว แต่หนูก็เชื่อว่าเพื่อนๆหนูมีทั้งที่เป็นเกย์ตั้งแต่กำเนิด และที่อาจจะเป็นเพราะปัจจัยอื่นๆเหมือนกัน
http://riverdale-dreams.blogspot.com/2006/07/blog-post_18.html
--ใช่แล้วจ้ะ MEN’S WORKOUT
--ขอแนะนำคุณ BLACK FOREST ให้ใช้ “สบู่กรด” ล้างหน้าค่ะ (ล้อเล่นค่ะ)
http://blackforests.blogspot.com/2006/07/ive-never-had-boyfriend-and-im-28.html
I'VE NEVER HAD A BOYFRIEND...AND I'M 33.
เพื่อนๆหนูไม่เคยถามหนูเลยค่ะว่าหนูมีผัวแล้วยัง เพราะเขาเห็นใบหน้าของหนู เขาก็ทึกทักโดยอัตโนมัติไปแล้วค่ะว่าชาตินี้อีนี่ไม่มีทางหาผัวได้แน่นอน ฮ่าๆๆ
ตอบน้อง merveillesxx
--ได้ดู SLOW DANCE ไปบ้างแล้ว ชอบ ERI FUKATSU (1973) มากๆเลยค่ะ
หนังของ ERI FUKATSU ที่เคยดู
1.(HARU) (1996, YOSHIMITSU MORITA, A+++++)
2.SUMMER VACATION 1999 (1988, SHUSUKE KANEKO, A+)
3.LIKE ASURA (2003, YOSHIMITSU MORITA, A)
--เห็นน้อง merveillesxx สนใจประเด็นหนัง post 9/11 ก็เลยขอแนะนำมิวสิควิดีโอ POST 9/11 ค่ะ นั่นก็คือมิวสิควิดีโอของ JOSHUA BELILE ทหารสหรัฐที่ไปรบในอิรักและร้องเพลงที่มีเนื้อหาที่ CONTROVERSIAL อย่างมากๆ เพราะเนื้อเพลงนี้มีเนื้อหาเกี่ยวกับการฆ่าพลเรือนชาวอิรัก แต่ JOSHUA BELILE บอกว่าเขาแต่งเพลงนี้เพราะเห็นว่ามันตลกดีและเนื้อเพลงนี้ก็ดัดแปลงมาจากประโยคในหนังเรื่อง TEAM AMERICA: WORLD POLICE (2004, TREY PARKER)
http://www.imdb.com/title/tt0372588/quotes
http://en.wikipedia.org/wiki/Joshua_Belile
In the song, the Marine protagonist meets an Iraqi girl who convinces him to follow her to her house. After arriving, the Marine is confronted by the Iraqi girl's father and brother who are armed with AK-47 rifles. The Marine then uses the girl's younger sister as a human shield. The father and brother attack, killing the sister as the marine laughs. The soldier then hides behind a TV, returns fire, and kills the father and brother.
JOSHUA BELILE ได้ออกมาขอโทษต่อสิ่งที่เกิดขึ้น ทางด้าน Council on American-Islamic Relations (http://www.cair-net.org) ก็ออกมาบอกว่า “We welcome Corporal Belile apology และจะปล่อยให้ทางกองทัพตัดสินเองว่าเขาควรได้รับการลงโทษทางวินัยหรือไม่”
ดูวิดีโอที่ CONTROVERSIAL อันนี้ได้ที่
http://video.google.com/videoplay?docid=2058313056450546087
อ่านเนื้อเพลงนี้ได้ที่
http://neveryetmelted.com/?p=1140
--ไม่รู้เหมือนกันว่า JOSHUA BELILE มีทัศนคติที่แท้จริงอย่างไรต่อพลเรือนชาวอิรัก แต่ตอนนี้รู้สึกอยากดูดีวีดีหนังหลายเรื่องที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับทหารสหรัฐ อย่างเช่นเรื่อง
1.WINTER SOLDIER (1972)
ดีวีดีหนังเรื่องนี้มีวางขายแล้วตั้งแต่วันที่ 30 พ.ค.ปีนี้
http://www.amazon.com/gp/product/B000F3AILI/sr=1-1/qid=1154230505/ref=pd_bbs_1/104-7772166-4126305?ie=UTF8&s=dvd
http://ec3.images-amazon.com/images/P/B000F3AILI.01._SS500_SCLZZZZZZZ_V56248672_.jpg
หนังสารคดีเรื่องนี้สัมภาษณ์ทหารผ่านศึกชาวอเมริกันในสงครามเวียดนามในปี 1971 โดยทหารเหล่านี้เล่าเรื่องจริงที่พวกเขาโยนประชาชนชาวเวียดนามลงจากเฮลิคอปเตอร์, เผาหมู่บ้าน, ยิงเด็กๆ, ข่มขืนผู้หญิง, ทรมานผู้บริสุทธิ์, ตัดอวัยวะผู้บริสุทธิ์ โดยเฉพาะตัดหู และถลกหนังผู้บริสุทธิ์
2.IN THE YEAR OF THE PIG (1969, EMILE DE ANTONIO)
http://www.amazon.com/gp/product/B000A88ES2/ref=pd_bxgy_img_b/104-7772166-4126305?ie=UTF8
http://ec1.images-amazon.com/images/P/B000A88ES2.01._SS500_SCLZZZZZZZ_V1121580022_.jpg
หนังสารคดีเรื่องนี้มีเนื้อหาต่อต้านสงครามเวียดนาม แต่หนังเรื่องนี้ใช้วิธีการที่ตรงข้ามกับไมเคิล มัวร์
Yet while De Antonio's doesn't hide his anti-war point of view, this will never be mistaken for a Michael Moore documentary; there's little in the way of sensationalism or humor, and rather than confront his targets in person and onscreen, a la Moore, de Antonio simply gives them enough rope with which to hang themselves
EMILE DE ANTONIO ไม่ค่อยถูกโฉลกกับเจ้าพ่อหนังสารคดีอีกคนนึง ซึ่งก็คือ FREDERICK WISEMAN อ่านความเกลียดชังของ DE ANTONIO ที่มีต่อ FREDERICK WISEMAN ได้ที่
http://www.sensesofcinema.com/contents/04/31/emile_de_antonio.html
--THAI FIGHTERS BY ANTHONY GAYTON
เห็นคุณ BLACK FORESTS แนะนำ ANTHONY GAYTON เอาไว้ใน BLOG
http://blackforests.blogspot.com/
พอเข้าไปดูเว็บของ ANTHONY GAYTON แล้วก็ชอบมาก เพราะมีภาพฝรั่งนักมวยที่มาฝึกมวยไทยด้วย
http://www.anthonygayton.com/img/subs/pictures/thaifighters/christoph_b.jpg
http://www.anthonygayton.com/img/subs/pictures/thaifighters/elvis_b.jpg
--ข่าวน่าสนใจ
BLEU COPAS เกย์หนุ่มวัย 30 ปีถูกปลดจากกองทัพสหรัฐเพราะเป็นเกย์
http://news.yahoo.com/s/ap/20060728/ap_on_re_us/gays_military_4
มีการปลดทหารสหรัฐออกจากกองทัพไปแล้วกว่า 11,000 คนในข้อหาเป็นเกย์ ซึ่งรวมถึง 726 คนในปีที่แล้ว โดยจำนวน 726 คนนี้เพิ่มขึ้น 11 % จากปี 2004 นอกจากนี้ ทหารเกย์เกือบ 800 คนที่โดนปลดเป็นทหารที่มีความสามารถพิเศษที่มีความสำคัญต่อกองทัพ โดยเฉพาะความสามารถด้านภาษา และการปลดทหารเกย์เหล่านี้ส่งผลให้กระทรวงกลาโหมสหรัฐต้องเสียเงิน 369 ล้านดอลลาร์ในการหาทหารใหม่
--อ่านข่าวข้างบนแล้วทำให้นึกถึงหนังเรื่อง SOLDIER’S GIRL (2003, FRANK PIERSON) ที่นำแสดงโดย TROY GARITY + LEE PACE และ SERVING IN SILENCE: THE MARGARETHE CAMMERMEYER STORY (1995, JEFF BLECKNER) ที่นำแสดงโดย GLENN CLOSE, JUDY DAVIS, RYAN REYNOLDS, MOLLY PARKER และ ERIC DANE (MULTIPLE MAN ใน X-MEN: THE LAST STAND)
http://www.imdb.com/title/tt0324013/
--ช่วง 2-3 สัปดาห์ที่ผ่านมาเป็นช่วงที่มีความสุขกับการดูหนังมากเป็นพิเศษ เพราะ METROSEXAUL, COLIC, SOPHIE SCHOLL – THE FINAL DAYS และ HELEN THE BABY FOX เป็นหนังที่ชอบสุดๆในระดับ A+++++
แต่ในขณะที่โรงภาพยนตร์กลายเป็นสวรรค์สำหรับดิฉัน โลกนอกโรงภาพยนตร์ก็กลายเป็นนรก เพราะข่าวเกี่ยวกับเลบานอนเป็นข่าวที่ทำให้รู้สึกสลดใจมากๆ
รู้สึกว่าตัวเองเคยดูหนังเกี่ยวกับเลบานอนน้อยสุดๆ หนังที่เคยดูก็มีแค่เพียง
1.OUT OF LIFE (1991, MAROUN BAGDADI)
http://images.amazon.com/images/P/B00004CN8B.01._SS500_SCLZZZZZZZ_V1131854541_.jpg
สุดหล่อ HIPPOLYTE GIRARDOT รับบทที่โทรมสุดๆในเรื่องนี้ โดยเขารับบทเป็นนักข่าวที่ถูกลักพาตัวในกรุงเบรุต
เป็นที่น่าเสียดายที่ MAROUN BAGDADI เสียชีวิตไปแล้วในปี 1993 ขณะอายุเพียง 43 ปีเนื่องจากตกปล่องลิฟท์
2.11’09”01 – SEPTEMBER 11 (2002, YOUSSEF CHAHINE, A+/A)ในส่วน EGYPT ที่กำกับโดย YOUSSEF CHAHINE มีเนื้อหาเกี่ยวกับวิญญาณของทหารอเมริกัน (หล่อมากๆๆ) ที่ถูกฆ่าตายในเลบานอนในปี 1983
ถ้าเข้าใจไม่ผิด เนื้อหาในส่วนที่กำกับโดย YOUSSEF CHAHINE นี้ อาจจะเกี่ยวพันกับเหตุการณ์ระเบิดพลีชีพในเลบานอนที่ส่งผลให้ทหารสหรัฐเสียชีวิต 241 คนในปี 1983 โดยผู้เห็นเหตุการณ์กล่าวว่ามือระเบิดพลีชีพ “ยิ้ม” ขณะปฏิบัติงานด้วย
http://en.wikipedia.org/wiki/1983_Beirut_barracks_bombing
According to one Marine, the driver was smiling as he sped past him.
The suicide bomber detonated his explosives, which were equivalent to 12,000 pounds (about 5,400kg) of TNT. The force of the explosion collapsed the four-story cinder-block building into rubble, crushing many inside.
3.THE KITE (2003, RANDA CHAHAL SABAG, A-)
http://www.imdb.com/title/tt0377610/
4.WEST BEIRUT (1998, ZIAD DOUEIRI, A-)
http://images.amazon.com/images/P/B00004UEZZ.03._SS500_SCLZZZZZZZ_V1057218146_.jpg
หนังแนว COMING OF AGE เกี่ยวกับเด็กหนุ่มที่ตกอยู่ในกรุงเบรุตท่ามกลางภาวะสงคราม ขณะที่เขาเองก็ประสบปัญหาภายในครอบครัวด้วยเช่นกัน
ถ้าจำไม่ผิด ในช่วงต้นของหนังเรื่องนี้มีตัวละครที่เป็นเกย์โผล่มาด้วยแวบนึง เป็นพ่อค้าในตลาดที่ชอบมีเซ็กส์กับเด็กหนุ่มๆ
5.NAVY SEALS (1990, LEWIS TEAGUE, B-)
http://images.amazon.com/images/P/630507531X.01._SS500_SCLZZZZZZZ_V1122573723_.jpg
The final scenes, in Beirut, Lebanon, revolve around an ultimately successful mission to destroy the weapons before they can be used against any possible targets.
หนังเชิดชูทหารอเมริกันที่น่าเบื่อเรื่องนึง ดิฉันไม่ค่อยชอบหนังเรื่องนี้เพราะหนังเรื่องนี้ไม่ค่อยจะขายเรือนร่างดาราชายสักเท่าไหร่ ข้อดีเพียงอย่างเดียวของหนังคือ MICHALE BIEHN น่ารักมาก ส่วนนักวิจารณ์ใน WASHINGTON POST เขียนว่า มีทหารนาวีซีลตัวจริงไปร่วมชมหนังเรื่องนี้ในรอบพิเศษด้วย และทหารตัวจริงเหล่านี้บ่นว่าหนังเรื่องนี้มีข้อเสียตรงที่ “มีฉากฆ่ากันโดยใช้มีดน้อยเกินไป”
--ส่วนหนังเกี่ยวกับเลบานอนที่อยากดูอย่างสุดๆก็คือเรื่อง
1.BLIND FLIGHT (2003, JOHN FURSE)
สร้างจากเรื่องจริง และนำแสดงโดยสุดหล่อ LINUS ROACHE กับ IAN HART ในบทของชายหนุ่มสองคนที่ถูกจับเป็นตัวประกันในเลบานอนในสงครามกลางเมืองปี 1979-1991
http://images.amazon.com/images/P/B0002HSDU0.02._SS500_SCLZZZZZZZ_V1118316354_.jpg
2.MASSAKER (2005, MONIKA BORGMANN + NINA MENKES, LOGMAN SLIM + HERMANN THEISSEN)
http://www.imdb.com/title/tt0382175/
หนังสารคดีเรื่องนี้มีเนื้อหาเกี่ยวกับการสังหารหมู่พลเรือนชาวปาเลสไตน์ที่อยู่ในเขตซาบราและชาติลาในเลบานอนจำนวนราว 3,000 คนระหว่างวันที่ 16-18 ก.ย.ปี 1982 โดยผู้ถูกสังหารส่วนใหญ่เป็นผู้หญิง, เด็ก และคนชรา และหนังเรื่องนี้ก็สัมภาษณ์ฆาตกรโหด 6 คนในเหตุการณ์ครั้งนั้น
Very depressing, very violent (although there is no violence per se) - just 6 men talking about a massacre they were involved (they were perpetrators) in during the Lebanese war in 1982. The last man to comment in the film really made my stomach turn - although what he says, in a rather sick way has a ring of truth to it.
อ่านรายละเอียดเกี่ยวกับการสังหารหมู่ในเลบานอนครั้งนั้นได้ที่
http://en.wikipedia.org/wiki/Sabra_and_Shatila_massacre
หรือในหนังสือ PITY THE NATION: LEBANON AT WAR ของ ROBERT FISK
http://www.amazon.com/gp/product/0192801309/sr=8-2/qid=1154222059/ref=pd_bbs_2/104-7772166-4126305?ie=UTF8
http://ec1.images-amazon.com/images/P/0192801309.01._SS500_SCLZZZZZZZ_V1056423078_.jpg
เว็บไซท์ของหนังเรื่องนี้
http://www.zootropefilms.fr/massaker/
http://www.ecranlarge.com/images/cinema/fiches/galeries/full/4c8dc572a504ec1a34c66e28f15d5985.jpg
http://www.ecranlarge.com/images/cinema/fiches/galeries/full/ba9ba22c76f9950561da0cc2f78ed23e.jpg
http://www.ecranlarge.com/images/cinema/fiches/galeries/full/d4b13997e10207e13437a9ad111a0771.jpg
http://www.ecranlarge.com/images/cinema/fiches/galeries/full/becfeecf24a2fe6f27fdc3db9d0e7dcd.jpg
http://www.ecranlarge.com/images/cinema/fiches/galeries/full/163360118f902e8b7e4d3f2d9d984751.jpg
--หนังที่ได้ดูในวันศุกร์+เสาร์ที่ผ่านมา
1.DRIPPING (จักรวาล นิลธำรงค์, A+++++)
2.HAPPINESS IS... (ธเนศ มรรคาสกุล, A+)
รู้สึกว่า BLOG ของผู้กำกับหนังเรื่องนี้อาจจะอยู่ที่นี่
http://yoandyo.spaces.msn.com/blog/PersonalSpace.aspx
น้อง merveillesxx เคยเขียนถึงหนังเรื่องนี้ไว้ที่
http://www.bloggang.com/viewdiary.php?id=merveillesxx&month=06-2006&date=09&group=1&blog=1
3.เปลี่ยน (ทศพล ทิพย์ทินกร, A+)
เป็นหนังแนวเล่าเรื่องย้อนหลังที่ทำออกมาได้ซึ้งมากๆ ไม่แพ้ 5X2 (FRANCOIS OZON, A+) และ THE STRAIGHT AND NARROW (2004, MATHIAS GOKALP, A+++++) แต่ในขณะที่ “เปลี่ยน” และ 5X2 มีเนื้อหาเกี่ยวกับความรัก THE STRAIGHT AND NARROW กลับมีเนื้อหาเกี่ยวกับความจริงอันน่าเศร้าของชีวิต จุดนึงที่ทำให้รู้สึกอยากร้องไห้ใน THE STRAIGHT AND NARROW คือการที่พระเอกของเรื่องเคยมีความใฝ่ฝันและความรักที่จะทำงานด้านสิ่งทออย่างมากๆ เขาถึงกับขวนขวายเรียนขั้นสูงๆเพื่อศึกษาเรื่องสิ่งทออย่างลึกซึ้ง แต่พอเขาจบการศึกษาออกมา เขากลับหางานทำได้เพียงแค่เป็นคนงานกระจอกงอกง่อยในโรงงานสิ่งทอเท่านั้น และเขาก็ต้องตกงานในเวลาต่อมาเพียงเพราะว่าเพื่อนๆของเขาประท้วงหยุดงานกันทั้งโรงงาน ทั้งๆที่เขาไม่ได้อยากจะร่วมหยุดงานด้วยเลย
THE STRAIGHT AND NARROW เล่าเรื่องย้อนหลังตั้งแต่พระเอกติดคุกไปจนถึงแม่พระเอกตั้งครรภ์ ขณะที่นั่งดูหนังเรื่องนี้ ดิฉันยังไม่รู้สึกซึ้งเท่าไหร่ เพราะยังเรียงลำดับเนื้อเรื่องไม่ถูก พอดูจบไประยะนึง และค่อยๆเรียงลำดับเนื้อเรื่องใหม่หมดตั้งแต่ต้นจนจบแล้ว ถึงค่อยรู้สึกว่าชีวิตพระเอกในหนังเรื่องนี้มันน่าเศร้ามากๆ
วิธีการเล่าเรื่องแบบใน THE STRAIGHT AND NARROW ประหลาดดี คือแทนที่หนังจะเล่าตรงๆว่าพระเอกเรียนสูงแต่ได้งานเป็นคนงานชั้นล่าง หนังกลับเล่าสวนทาง โดยเล่าว่า “ผมชอบงานที่ทำในโรงงานมาก จนถึงกับไปลงเรียนวิชาสิ่งทอขั้นสูงในมหาลัย” (แต่ผู้ชมจะเห็นภาพว่าหน้าตาพระเอกดูเด็กลงเรื่อยๆ และอายุพระเอกก็น้อยลงเรื่อยๆ)
4.ลิงโกสุม (พิชิตโรมรัน อรรคธรรม, A+)
หนังสารคดีชีวิตลิง แต่สามารถถ่ายทอด “บรรยากาศ” ได้ดีมาก
5.HOME (วรรณนิศา เอี่ยมละออง, A+)
6.HOMEWORK (สวัสดิ์ รัตนบรรณกิจ, A+)
ช่วงต้นของหนังเรื่องนี้ หนังตั้งกล้องถ่ายไว้นิ่งๆโดยไม่ตัดภาพเลยเป็นเวลาประมาณ 10 นาที และก็เลยทำให้นึกถึงหนังเม็กซิโกเรื่อง HOMEWORK (1991, JAIME HUMBERTO HERMOSILLO) ที่ดิฉันยังไม่ได้ดู แต่เข้าใจว่ามีฉากที่กล้องตั้งนิ่งๆโดยไม่มีการตัดภาพเช่นกัน โดย HOMEWORK (1991) มีเนื้อหาเกี่ยวกับหญิงสาวที่ล่อลวงชายหนุ่มให้มามีเซ็กส์ด้วยกัน โดยหญิงสาวแอบซ่อนกล้องบันทึกภาพการมีเซ็กส์เอาไว้ แต่ HOMEWORK (2006) มีเนื้อหาเกี่ยวกับเด็กที่ทำการบ้าน
7.ALFIE (2004, CHARLES SHYER, A+)
ได้ดูทาง HBO รู้สึกว่า JUDE LAW ในหนังเรื่องนี้น่ารักมากๆ และบทของ SUSAN SARANDON ก็ดีมากๆ
8.MIAMI VICE (2006, MICHAEL MANN, A+)
ชอบการแสดงของ LUIS TOSAR (1971) ในหนังเรื่องนี้มาก เขาแสดงเป็นเจ้าพ่อได้ดูน่ากลัวดี ก่อนหน้านี้เคยเห็นเขาเล่นหนังโรแมนติกคอมเมดี้เรื่อง UNCONSCIOUS (2004, JOAQUIN ORISTRELL, A-) ก็คิดว่าเขาเล่นได้ดีเช่นกัน
ได้ยินว่า LUIS TOSAR เคยเล่นได้อย่างสุดยอดมากๆใน TAKE MY EYES (2003, ICIAR BOLLAIN) และก็เคยเห็นดีวีดีหนังเรื่องนี้วางขายในสีลมด้วย
LUIS TOSAR
http://www.controlarms.org/es/images/tosar_arma.jpg
รู้สึกชอบจังหวะการจบของ MIAMI VICE มากๆ และทำให้นึกถึงตอนจบของ ALFIE (2004, CHARLES SHYER, A+) กับ LADY IN THE WATER เพราะ”เนื้อหา” ในตอนจบของหนัง 3 เรื่องนี้ไม่ค่อยเข้าทางดิฉันสักเท่าไหร่ แต่หนัง 3 เรื่องนี้เลือกจบใน “จังหวะ” ที่เข้าทางดิฉันมากๆ นั่นก็คือรีบจบก่อนที่อารมณ์จะดิ่งลงเหว ดิฉันคิดว่าถ้าหากหนัง 3 เรื่องนี้ยืดฉากจบให้ยาวขึ้นอีก 5 นาที หนัง 3 เรื่องนี้ก็อาจจะร่วงจาก A+ ลงมาอยู่ที่ C+ ได้อย่างง่ายๆเหมือนกัน
บางฉากในหนังเรื่องนี้ทำให้นึกถึง NIGHT MOVES (1975, ARTHUR PENN, A) ที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับความลึกลับบางอย่างนอกชายฝั่งรัฐฟลอริดา
http://images.amazon.com/images/P/B0009GX1CE.01._SS500_SCLZZZZZZZ_V1116409247_.jpg
ประโยคที่ชอบมากใน NIGHT MOVES คือประโยคที่ว่า THE TRUTH IS A LIE THAT HASN’T BEEN FOUND OUT หรือสิ่งที่เราเชื่อว่าเป็นความจริงในขณะนี้นั้น จริงๆแล้วมันเป็นเพียงความเท็จที่ยังไม่ถูกเปิดโปงออกมา
ตัวละคร CROCKETT (COLIN FARRELL) ใน MIAMI VICE ดูเหมือนจะมีความขัดแย้งที่น่าสนใจดี ระหว่างความรักที่มีต่อ GONG LI กับหน้าที่ตำรวจ แต่ถ้าหากเทียบกับตัวละครอื่นๆในหนังที่ได้ดูมาในระยะนี้แล้ว รู้สึกว่าความขัดแย้งในใจ CROCKETT เป็นสิ่งที่เบามากๆ
ตัวละครที่มีความขัดแย้งในใจที่ดิฉันชอบมากในระยะนี้
A. CONSTANCE RADETSKY (DIANE KRUGER) ใน TIGER BRIGADES (2006, JEROME CORNUAU, A+)
รู้สึกชอบปฏิกิริยาของตัวละครตัวนี้ที่มีต่อทั้งสามี (ALEKSANDR MEDVEDEV), ชู้รักที่เป็นผู้ก่อการร้าย (JACQUES GAMBLIN จาก VAN GOGH), ชู้รักที่เป็นตำรวจ (CLOVIS CORNILLAC), ผู้ก่อการร้ายที่ชั่วร้าย และตำรวจที่ชั่วร้าย การที่ตัวละครใน TIGER BRIGADES มีหลายฝ่าย ส่งผลให้ปฏิกิริยาของตัวละครไม่ได้มีแค่เพียงปฏิกิริยาของนางเอกกับตัวละครฝ่ายดี และปฏิกิริยาของนางเอกกับตัวละครฝ่ายเลวเท่านั้น เพราะตัวละครนางเอกเองก็มีความโหดร้ายอยู่ภายใน และตัวละครบางตัวก็ยากจะวัดได้ว่าใครดีเลวหรือถูกผิดมากกว่ากัน
B.ANZOR “DUKE” YUGORSKY (KAREL RODEN) ใน RUNNING SCARED
จัดเป็นหนึ่งในตัวละครผู้ร้ายที่น่าสนใจที่สุดในปีนี้ เพราะตัวละครตัวนี้ทำร้ายภรรยากับลูกเลี้ยงอย่างชั่วร้ายมาก แต่ในขณะเดียวกันเขาก็เคยช่วยชีวิตภรรยา และความหมกมุ่นของเขาที่มีต่อจอห์น เวย์นและหนังเรื่อง THE COWBOYS (1972, MARK RYDELL) ก็เป็นหนึ่งในสิ่งที่น่าประทับใจที่สุดในหนังเรื่องนี้
http://images.amazon.com/images/P/6305133107.01._SS500_SCLZZZZZZZ_V1122574575_.jpg
9.CRASH (วรวิทย์ อิกำเหนิด, A+)
ดูแล้วงงมาก
10.LOVEAHOLIC (2006, พิง ลำพระเพลิง, A+/A)
ชอบวิสา สารสาส กับอัครา อมาตยกุลมากๆ ชอบการตัดต่อของหนังเรื่องนี้มาก และการที่ดิฉันไม่ค่อยถูกโฉลกกับหนังโรแมนติกสักเท่าไหร่ ก็เลยทำให้ชอบการที่หนังเรื่องนี้เปลี่ยนไปเป็นหนังผีและหนังตลกในช่วงครึ่งหลังของเรื่อง อย่างไรก็ดี การที่หนังเรื่องนี้ให้ความสำคัญกับอัครา อมาตยกุลน้อยเกินไป ก็เลยทำให้ชอบหนังเรื่องนี้ไม่ถึง A+ ฮ่าๆๆๆๆ
11.คำถาม (ณัฎฐ์ธร กังวาลไกล, A+/A)
12.M 6/3 THE MOVIE (ศุภชัย พรหมสิทธิเวท, A)
13.รอดช่อง (มณีกาญจน์ ไชยนนท์, A)
หนังเรื่องนี้มีเนื้อหาบางส่วนเกี่ยวกับเกย์
14.ทรมาน (วีรชาติ งามศิลป์, A)
หนังเรื่องนี้มีเนื้อหาเกี่ยวกับผู้ชายที่ชอบโชว์อวัยวะเพศ
15.BALANCE (นรชาย กัจฉปานนท์, A)
16.LONELY NO MORE (วิสูตร รวีรุ่งจรัส, A)
หนังผีเรื่องนี้แหวกแนวไปจากหนังผีทั่วไป ชอบฉากชายหนุ่มอาบน้ำในหนังเรื่องนี้
นึกไม่ค่อยออกว่ามีหนังผีเรื่องไหนอีกบ้างที่มีฉากชายหนุ่มอาบน้ำ อ้อ มี 303 กลัวกล้าอาฆาต (1998, A-/B+) ที่คัดเลือกนักแสดงชายเข้าฉากอาบน้ำได้ดีมาก
17.โรงเรียนสยองขวัญ (สมภพ เมธาสถิตย์สุข, A/A-)
18.เดอะ เลอะเทอะ สตอรี่ (ปรวิศ พวงศรี, A-)
19.เพื่อน (ปราโมทย์ ปั้นน่วม, A-)
20.มัจจุราช (อุเทน ศรีริวิ, A-)
ชอบฉากเปิดหนังเรื่องนี้ในระดับ A+++++ ที่เป็นชายหนุ่มไม่ใส่เสื้อดูดบุหรี่เป็นเวลาติดต่อกันนานมาก
21.แล้วแต่คุณ (ศุกลภัทร ประสงค์ทรัพย์, A-)
ชอบส่วนที่เกี่ยวกับสาวบ้าล็อตเตอรี่ในหนังเรื่องนี้มาก ความรู้สึกของดิฉันที่มีต่อหนังเรื่องนี้คล้ายกับความรู้สึกที่มีต่อหนังเรื่อง “ฝัน” (ศุกลภัทร ประสงค์ทรัพย์, A) ในจุดนึง นั่นก็คือว่าชอบ “ไอเดีย” บางอย่างในหนังสองเรื่องนี้มากๆ แม้เนื้อหาบางส่วนจะไม่เข้าทางดิฉันสักเท่าไหร่
22.ความเชื่อ (อาทิเทพ ปถวีธาตุ, A-)
23.ซูเปอร์เด็กวัด (สหรัฐ มานิตยกุล + ปัทมา หวังคอนกลาง, A-)
รู้สึกว่าหนังเรื่องนี้มีหลายส่วนที่ฝืดมาก แต่ชอบฉาก “นักศึกษาสาวที่พยายามบังคับให้กล้องถ่ายหนังบันทึกภาพตัวเธอขณะเศร้าใจตามจุดต่างๆในมหาลัย”อย่างมากๆในระดับ A+++++ และถ้าหากเทียบหนังเรื่องนี้กับหนังสั้นแนวสั่งสอนศีลธรรมอีกหลายสิบเรื่องแล้ว ก็รู้สึกยอมรับ “ท่าที” ของหนังเรื่องนี้ได้มากที่สุดเมื่อเทียบกับหนังสั่งสอนศีลธรรมเรื่องอื่นๆ
24.SILENT ROOM (กิตติพัฒน์ กนกนาค, A-)
25.คำตอบ (ชาคริต วิชัยยุทธิ์, A-)
26.SAD MOVIE (2005, KWON JONG-KWAN, B+)
ถึงแม้โดยรวมๆจะชอบหนังเรื่องนี้แค่ B+ แต่ถ้าหากนับเฉพาะช่วงของสาวใบ้หน้าเสียโฉม (ชินมินอา) ก็ชอบช่วงนั้นมากในระดับ A+
27.แข่ง: ชนะ: แพ้: เสมอ: ได้: เสีย: แต้ม (จุดเริ่มต้น) (พิชย จรัสบุญประชา, B+)
28.SENSE (ธีรัช คล่งเวสสะ)
น่าเสียดายที่หนังเรื่องนี้บันทึกเสียงไม่ดี จนทำให้ไม่ได้ยินเลยว่าตัวละครคุยกันว่าอะไรบ้าง เพราะฉะนั้นก็เลยของดออกความเห็น แต่ถ้าเข้าใจไม่ผิด ตัวละครชายหนุ่มหญิงสาวในหนังเรื่องนี้เรียนโรงเรียนเดียวกับน้อง merveillesxx
I haven’t seen many old classic films, I hope to see them more in the future.
In your list I have seen only Pather Panchali (A), Children of Paradise (A+), The 400 Blows (A-), Tropical Malady (A+++++), Russian Ark (A+), A Man Escaped (A+++++), The River (A-), Unknown Pleasures (A+), Beau Travail (A+++++), The Gleaners and I (A+)
My favorite Satyajit Ray’s film is Days and Nights in the Forest (1970). My favorite Francois Truffaut’s film is Two English Girls. My favorite Krzysztof Kiewslowski’s film is A Short Film About Love. My favorite Apichatpong Weerasethakul’s film is Windows (1999). My favorite Sokurov’s film is The Sun. My favorite Bresson’s film is L’Argent. My favorite Fellini’s film is Juliet of the Spirits. My favorite Varda’s film is The Creatures (1966).
http://riverdale-dreams.blogspot.com/2006/07/blog-post_19.html
ดีจัง ได้ความรู้เรื่อง ESSENTIALIST กับ CONSTRUCTIONIST ด้วย
หนูเชื่อว่าตัวหนูเป็นเกย์มาตั้งแต่เกิดค่ะ เพราะหนูรู้สึกเงี่ยนผู้ชายตั้งแต่อยู่โรงเรียนอนุบาลแล้ว แต่หนูก็เชื่อว่าเพื่อนๆหนูมีทั้งที่เป็นเกย์ตั้งแต่กำเนิด และที่อาจจะเป็นเพราะปัจจัยอื่นๆเหมือนกัน
http://riverdale-dreams.blogspot.com/2006/07/blog-post_18.html
--ใช่แล้วจ้ะ MEN’S WORKOUT
--ขอแนะนำคุณ BLACK FOREST ให้ใช้ “สบู่กรด” ล้างหน้าค่ะ (ล้อเล่นค่ะ)
http://blackforests.blogspot.com/2006/07/ive-never-had-boyfriend-and-im-28.html
I'VE NEVER HAD A BOYFRIEND...AND I'M 33.
เพื่อนๆหนูไม่เคยถามหนูเลยค่ะว่าหนูมีผัวแล้วยัง เพราะเขาเห็นใบหน้าของหนู เขาก็ทึกทักโดยอัตโนมัติไปแล้วค่ะว่าชาตินี้อีนี่ไม่มีทางหาผัวได้แน่นอน ฮ่าๆๆ
ตอบน้อง merveillesxx
--ได้ดู SLOW DANCE ไปบ้างแล้ว ชอบ ERI FUKATSU (1973) มากๆเลยค่ะ
หนังของ ERI FUKATSU ที่เคยดู
1.(HARU) (1996, YOSHIMITSU MORITA, A+++++)
2.SUMMER VACATION 1999 (1988, SHUSUKE KANEKO, A+)
3.LIKE ASURA (2003, YOSHIMITSU MORITA, A)
--เห็นน้อง merveillesxx สนใจประเด็นหนัง post 9/11 ก็เลยขอแนะนำมิวสิควิดีโอ POST 9/11 ค่ะ นั่นก็คือมิวสิควิดีโอของ JOSHUA BELILE ทหารสหรัฐที่ไปรบในอิรักและร้องเพลงที่มีเนื้อหาที่ CONTROVERSIAL อย่างมากๆ เพราะเนื้อเพลงนี้มีเนื้อหาเกี่ยวกับการฆ่าพลเรือนชาวอิรัก แต่ JOSHUA BELILE บอกว่าเขาแต่งเพลงนี้เพราะเห็นว่ามันตลกดีและเนื้อเพลงนี้ก็ดัดแปลงมาจากประโยคในหนังเรื่อง TEAM AMERICA: WORLD POLICE (2004, TREY PARKER)
http://www.imdb.com/title/tt0372588/quotes
http://en.wikipedia.org/wiki/Joshua_Belile
In the song, the Marine protagonist meets an Iraqi girl who convinces him to follow her to her house. After arriving, the Marine is confronted by the Iraqi girl's father and brother who are armed with AK-47 rifles. The Marine then uses the girl's younger sister as a human shield. The father and brother attack, killing the sister as the marine laughs. The soldier then hides behind a TV, returns fire, and kills the father and brother.
JOSHUA BELILE ได้ออกมาขอโทษต่อสิ่งที่เกิดขึ้น ทางด้าน Council on American-Islamic Relations (http://www.cair-net.org) ก็ออกมาบอกว่า “We welcome Corporal Belile apology และจะปล่อยให้ทางกองทัพตัดสินเองว่าเขาควรได้รับการลงโทษทางวินัยหรือไม่”
ดูวิดีโอที่ CONTROVERSIAL อันนี้ได้ที่
http://video.google.com/videoplay?docid=2058313056450546087
อ่านเนื้อเพลงนี้ได้ที่
http://neveryetmelted.com/?p=1140
--ไม่รู้เหมือนกันว่า JOSHUA BELILE มีทัศนคติที่แท้จริงอย่างไรต่อพลเรือนชาวอิรัก แต่ตอนนี้รู้สึกอยากดูดีวีดีหนังหลายเรื่องที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับทหารสหรัฐ อย่างเช่นเรื่อง
1.WINTER SOLDIER (1972)
ดีวีดีหนังเรื่องนี้มีวางขายแล้วตั้งแต่วันที่ 30 พ.ค.ปีนี้
http://www.amazon.com/gp/product/B000F3AILI/sr=1-1/qid=1154230505/ref=pd_bbs_1/104-7772166-4126305?ie=UTF8&s=dvd
http://ec3.images-amazon.com/images/P/B000F3AILI.01._SS500_SCLZZZZZZZ_V56248672_.jpg
หนังสารคดีเรื่องนี้สัมภาษณ์ทหารผ่านศึกชาวอเมริกันในสงครามเวียดนามในปี 1971 โดยทหารเหล่านี้เล่าเรื่องจริงที่พวกเขาโยนประชาชนชาวเวียดนามลงจากเฮลิคอปเตอร์, เผาหมู่บ้าน, ยิงเด็กๆ, ข่มขืนผู้หญิง, ทรมานผู้บริสุทธิ์, ตัดอวัยวะผู้บริสุทธิ์ โดยเฉพาะตัดหู และถลกหนังผู้บริสุทธิ์
2.IN THE YEAR OF THE PIG (1969, EMILE DE ANTONIO)
http://www.amazon.com/gp/product/B000A88ES2/ref=pd_bxgy_img_b/104-7772166-4126305?ie=UTF8
http://ec1.images-amazon.com/images/P/B000A88ES2.01._SS500_SCLZZZZZZZ_V1121580022_.jpg
หนังสารคดีเรื่องนี้มีเนื้อหาต่อต้านสงครามเวียดนาม แต่หนังเรื่องนี้ใช้วิธีการที่ตรงข้ามกับไมเคิล มัวร์
Yet while De Antonio's doesn't hide his anti-war point of view, this will never be mistaken for a Michael Moore documentary; there's little in the way of sensationalism or humor, and rather than confront his targets in person and onscreen, a la Moore, de Antonio simply gives them enough rope with which to hang themselves
EMILE DE ANTONIO ไม่ค่อยถูกโฉลกกับเจ้าพ่อหนังสารคดีอีกคนนึง ซึ่งก็คือ FREDERICK WISEMAN อ่านความเกลียดชังของ DE ANTONIO ที่มีต่อ FREDERICK WISEMAN ได้ที่
http://www.sensesofcinema.com/contents/04/31/emile_de_antonio.html
--THAI FIGHTERS BY ANTHONY GAYTON
เห็นคุณ BLACK FORESTS แนะนำ ANTHONY GAYTON เอาไว้ใน BLOG
http://blackforests.blogspot.com/
พอเข้าไปดูเว็บของ ANTHONY GAYTON แล้วก็ชอบมาก เพราะมีภาพฝรั่งนักมวยที่มาฝึกมวยไทยด้วย
http://www.anthonygayton.com/img/subs/pictures/thaifighters/christoph_b.jpg
http://www.anthonygayton.com/img/subs/pictures/thaifighters/elvis_b.jpg
--ข่าวน่าสนใจ
BLEU COPAS เกย์หนุ่มวัย 30 ปีถูกปลดจากกองทัพสหรัฐเพราะเป็นเกย์
http://news.yahoo.com/s/ap/20060728/ap_on_re_us/gays_military_4
มีการปลดทหารสหรัฐออกจากกองทัพไปแล้วกว่า 11,000 คนในข้อหาเป็นเกย์ ซึ่งรวมถึง 726 คนในปีที่แล้ว โดยจำนวน 726 คนนี้เพิ่มขึ้น 11 % จากปี 2004 นอกจากนี้ ทหารเกย์เกือบ 800 คนที่โดนปลดเป็นทหารที่มีความสามารถพิเศษที่มีความสำคัญต่อกองทัพ โดยเฉพาะความสามารถด้านภาษา และการปลดทหารเกย์เหล่านี้ส่งผลให้กระทรวงกลาโหมสหรัฐต้องเสียเงิน 369 ล้านดอลลาร์ในการหาทหารใหม่
--อ่านข่าวข้างบนแล้วทำให้นึกถึงหนังเรื่อง SOLDIER’S GIRL (2003, FRANK PIERSON) ที่นำแสดงโดย TROY GARITY + LEE PACE และ SERVING IN SILENCE: THE MARGARETHE CAMMERMEYER STORY (1995, JEFF BLECKNER) ที่นำแสดงโดย GLENN CLOSE, JUDY DAVIS, RYAN REYNOLDS, MOLLY PARKER และ ERIC DANE (MULTIPLE MAN ใน X-MEN: THE LAST STAND)
http://www.imdb.com/title/tt0324013/
--ช่วง 2-3 สัปดาห์ที่ผ่านมาเป็นช่วงที่มีความสุขกับการดูหนังมากเป็นพิเศษ เพราะ METROSEXAUL, COLIC, SOPHIE SCHOLL – THE FINAL DAYS และ HELEN THE BABY FOX เป็นหนังที่ชอบสุดๆในระดับ A+++++
แต่ในขณะที่โรงภาพยนตร์กลายเป็นสวรรค์สำหรับดิฉัน โลกนอกโรงภาพยนตร์ก็กลายเป็นนรก เพราะข่าวเกี่ยวกับเลบานอนเป็นข่าวที่ทำให้รู้สึกสลดใจมากๆ
รู้สึกว่าตัวเองเคยดูหนังเกี่ยวกับเลบานอนน้อยสุดๆ หนังที่เคยดูก็มีแค่เพียง
1.OUT OF LIFE (1991, MAROUN BAGDADI)
http://images.amazon.com/images/P/B00004CN8B.01._SS500_SCLZZZZZZZ_V1131854541_.jpg
สุดหล่อ HIPPOLYTE GIRARDOT รับบทที่โทรมสุดๆในเรื่องนี้ โดยเขารับบทเป็นนักข่าวที่ถูกลักพาตัวในกรุงเบรุต
เป็นที่น่าเสียดายที่ MAROUN BAGDADI เสียชีวิตไปแล้วในปี 1993 ขณะอายุเพียง 43 ปีเนื่องจากตกปล่องลิฟท์
2.11’09”01 – SEPTEMBER 11 (2002, YOUSSEF CHAHINE, A+/A)ในส่วน EGYPT ที่กำกับโดย YOUSSEF CHAHINE มีเนื้อหาเกี่ยวกับวิญญาณของทหารอเมริกัน (หล่อมากๆๆ) ที่ถูกฆ่าตายในเลบานอนในปี 1983
ถ้าเข้าใจไม่ผิด เนื้อหาในส่วนที่กำกับโดย YOUSSEF CHAHINE นี้ อาจจะเกี่ยวพันกับเหตุการณ์ระเบิดพลีชีพในเลบานอนที่ส่งผลให้ทหารสหรัฐเสียชีวิต 241 คนในปี 1983 โดยผู้เห็นเหตุการณ์กล่าวว่ามือระเบิดพลีชีพ “ยิ้ม” ขณะปฏิบัติงานด้วย
http://en.wikipedia.org/wiki/1983_Beirut_barracks_bombing
According to one Marine, the driver was smiling as he sped past him.
The suicide bomber detonated his explosives, which were equivalent to 12,000 pounds (about 5,400kg) of TNT. The force of the explosion collapsed the four-story cinder-block building into rubble, crushing many inside.
3.THE KITE (2003, RANDA CHAHAL SABAG, A-)
http://www.imdb.com/title/tt0377610/
4.WEST BEIRUT (1998, ZIAD DOUEIRI, A-)
http://images.amazon.com/images/P/B00004UEZZ.03._SS500_SCLZZZZZZZ_V1057218146_.jpg
หนังแนว COMING OF AGE เกี่ยวกับเด็กหนุ่มที่ตกอยู่ในกรุงเบรุตท่ามกลางภาวะสงคราม ขณะที่เขาเองก็ประสบปัญหาภายในครอบครัวด้วยเช่นกัน
ถ้าจำไม่ผิด ในช่วงต้นของหนังเรื่องนี้มีตัวละครที่เป็นเกย์โผล่มาด้วยแวบนึง เป็นพ่อค้าในตลาดที่ชอบมีเซ็กส์กับเด็กหนุ่มๆ
5.NAVY SEALS (1990, LEWIS TEAGUE, B-)
http://images.amazon.com/images/P/630507531X.01._SS500_SCLZZZZZZZ_V1122573723_.jpg
The final scenes, in Beirut, Lebanon, revolve around an ultimately successful mission to destroy the weapons before they can be used against any possible targets.
หนังเชิดชูทหารอเมริกันที่น่าเบื่อเรื่องนึง ดิฉันไม่ค่อยชอบหนังเรื่องนี้เพราะหนังเรื่องนี้ไม่ค่อยจะขายเรือนร่างดาราชายสักเท่าไหร่ ข้อดีเพียงอย่างเดียวของหนังคือ MICHALE BIEHN น่ารักมาก ส่วนนักวิจารณ์ใน WASHINGTON POST เขียนว่า มีทหารนาวีซีลตัวจริงไปร่วมชมหนังเรื่องนี้ในรอบพิเศษด้วย และทหารตัวจริงเหล่านี้บ่นว่าหนังเรื่องนี้มีข้อเสียตรงที่ “มีฉากฆ่ากันโดยใช้มีดน้อยเกินไป”
--ส่วนหนังเกี่ยวกับเลบานอนที่อยากดูอย่างสุดๆก็คือเรื่อง
1.BLIND FLIGHT (2003, JOHN FURSE)
สร้างจากเรื่องจริง และนำแสดงโดยสุดหล่อ LINUS ROACHE กับ IAN HART ในบทของชายหนุ่มสองคนที่ถูกจับเป็นตัวประกันในเลบานอนในสงครามกลางเมืองปี 1979-1991
http://images.amazon.com/images/P/B0002HSDU0.02._SS500_SCLZZZZZZZ_V1118316354_.jpg
2.MASSAKER (2005, MONIKA BORGMANN + NINA MENKES, LOGMAN SLIM + HERMANN THEISSEN)
http://www.imdb.com/title/tt0382175/
หนังสารคดีเรื่องนี้มีเนื้อหาเกี่ยวกับการสังหารหมู่พลเรือนชาวปาเลสไตน์ที่อยู่ในเขตซาบราและชาติลาในเลบานอนจำนวนราว 3,000 คนระหว่างวันที่ 16-18 ก.ย.ปี 1982 โดยผู้ถูกสังหารส่วนใหญ่เป็นผู้หญิง, เด็ก และคนชรา และหนังเรื่องนี้ก็สัมภาษณ์ฆาตกรโหด 6 คนในเหตุการณ์ครั้งนั้น
Very depressing, very violent (although there is no violence per se) - just 6 men talking about a massacre they were involved (they were perpetrators) in during the Lebanese war in 1982. The last man to comment in the film really made my stomach turn - although what he says, in a rather sick way has a ring of truth to it.
อ่านรายละเอียดเกี่ยวกับการสังหารหมู่ในเลบานอนครั้งนั้นได้ที่
http://en.wikipedia.org/wiki/Sabra_and_Shatila_massacre
หรือในหนังสือ PITY THE NATION: LEBANON AT WAR ของ ROBERT FISK
http://www.amazon.com/gp/product/0192801309/sr=8-2/qid=1154222059/ref=pd_bbs_2/104-7772166-4126305?ie=UTF8
http://ec1.images-amazon.com/images/P/0192801309.01._SS500_SCLZZZZZZZ_V1056423078_.jpg
เว็บไซท์ของหนังเรื่องนี้
http://www.zootropefilms.fr/massaker/
http://www.ecranlarge.com/images/cinema/fiches/galeries/full/4c8dc572a504ec1a34c66e28f15d5985.jpg
http://www.ecranlarge.com/images/cinema/fiches/galeries/full/ba9ba22c76f9950561da0cc2f78ed23e.jpg
http://www.ecranlarge.com/images/cinema/fiches/galeries/full/d4b13997e10207e13437a9ad111a0771.jpg
http://www.ecranlarge.com/images/cinema/fiches/galeries/full/becfeecf24a2fe6f27fdc3db9d0e7dcd.jpg
http://www.ecranlarge.com/images/cinema/fiches/galeries/full/163360118f902e8b7e4d3f2d9d984751.jpg
--หนังที่ได้ดูในวันศุกร์+เสาร์ที่ผ่านมา
1.DRIPPING (จักรวาล นิลธำรงค์, A+++++)
2.HAPPINESS IS... (ธเนศ มรรคาสกุล, A+)
รู้สึกว่า BLOG ของผู้กำกับหนังเรื่องนี้อาจจะอยู่ที่นี่
http://yoandyo.spaces.msn.com/blog/PersonalSpace.aspx
น้อง merveillesxx เคยเขียนถึงหนังเรื่องนี้ไว้ที่
http://www.bloggang.com/viewdiary.php?id=merveillesxx&month=06-2006&date=09&group=1&blog=1
3.เปลี่ยน (ทศพล ทิพย์ทินกร, A+)
เป็นหนังแนวเล่าเรื่องย้อนหลังที่ทำออกมาได้ซึ้งมากๆ ไม่แพ้ 5X2 (FRANCOIS OZON, A+) และ THE STRAIGHT AND NARROW (2004, MATHIAS GOKALP, A+++++) แต่ในขณะที่ “เปลี่ยน” และ 5X2 มีเนื้อหาเกี่ยวกับความรัก THE STRAIGHT AND NARROW กลับมีเนื้อหาเกี่ยวกับความจริงอันน่าเศร้าของชีวิต จุดนึงที่ทำให้รู้สึกอยากร้องไห้ใน THE STRAIGHT AND NARROW คือการที่พระเอกของเรื่องเคยมีความใฝ่ฝันและความรักที่จะทำงานด้านสิ่งทออย่างมากๆ เขาถึงกับขวนขวายเรียนขั้นสูงๆเพื่อศึกษาเรื่องสิ่งทออย่างลึกซึ้ง แต่พอเขาจบการศึกษาออกมา เขากลับหางานทำได้เพียงแค่เป็นคนงานกระจอกงอกง่อยในโรงงานสิ่งทอเท่านั้น และเขาก็ต้องตกงานในเวลาต่อมาเพียงเพราะว่าเพื่อนๆของเขาประท้วงหยุดงานกันทั้งโรงงาน ทั้งๆที่เขาไม่ได้อยากจะร่วมหยุดงานด้วยเลย
THE STRAIGHT AND NARROW เล่าเรื่องย้อนหลังตั้งแต่พระเอกติดคุกไปจนถึงแม่พระเอกตั้งครรภ์ ขณะที่นั่งดูหนังเรื่องนี้ ดิฉันยังไม่รู้สึกซึ้งเท่าไหร่ เพราะยังเรียงลำดับเนื้อเรื่องไม่ถูก พอดูจบไประยะนึง และค่อยๆเรียงลำดับเนื้อเรื่องใหม่หมดตั้งแต่ต้นจนจบแล้ว ถึงค่อยรู้สึกว่าชีวิตพระเอกในหนังเรื่องนี้มันน่าเศร้ามากๆ
วิธีการเล่าเรื่องแบบใน THE STRAIGHT AND NARROW ประหลาดดี คือแทนที่หนังจะเล่าตรงๆว่าพระเอกเรียนสูงแต่ได้งานเป็นคนงานชั้นล่าง หนังกลับเล่าสวนทาง โดยเล่าว่า “ผมชอบงานที่ทำในโรงงานมาก จนถึงกับไปลงเรียนวิชาสิ่งทอขั้นสูงในมหาลัย” (แต่ผู้ชมจะเห็นภาพว่าหน้าตาพระเอกดูเด็กลงเรื่อยๆ และอายุพระเอกก็น้อยลงเรื่อยๆ)
4.ลิงโกสุม (พิชิตโรมรัน อรรคธรรม, A+)
หนังสารคดีชีวิตลิง แต่สามารถถ่ายทอด “บรรยากาศ” ได้ดีมาก
5.HOME (วรรณนิศา เอี่ยมละออง, A+)
6.HOMEWORK (สวัสดิ์ รัตนบรรณกิจ, A+)
ช่วงต้นของหนังเรื่องนี้ หนังตั้งกล้องถ่ายไว้นิ่งๆโดยไม่ตัดภาพเลยเป็นเวลาประมาณ 10 นาที และก็เลยทำให้นึกถึงหนังเม็กซิโกเรื่อง HOMEWORK (1991, JAIME HUMBERTO HERMOSILLO) ที่ดิฉันยังไม่ได้ดู แต่เข้าใจว่ามีฉากที่กล้องตั้งนิ่งๆโดยไม่มีการตัดภาพเช่นกัน โดย HOMEWORK (1991) มีเนื้อหาเกี่ยวกับหญิงสาวที่ล่อลวงชายหนุ่มให้มามีเซ็กส์ด้วยกัน โดยหญิงสาวแอบซ่อนกล้องบันทึกภาพการมีเซ็กส์เอาไว้ แต่ HOMEWORK (2006) มีเนื้อหาเกี่ยวกับเด็กที่ทำการบ้าน
7.ALFIE (2004, CHARLES SHYER, A+)
ได้ดูทาง HBO รู้สึกว่า JUDE LAW ในหนังเรื่องนี้น่ารักมากๆ และบทของ SUSAN SARANDON ก็ดีมากๆ
8.MIAMI VICE (2006, MICHAEL MANN, A+)
ชอบการแสดงของ LUIS TOSAR (1971) ในหนังเรื่องนี้มาก เขาแสดงเป็นเจ้าพ่อได้ดูน่ากลัวดี ก่อนหน้านี้เคยเห็นเขาเล่นหนังโรแมนติกคอมเมดี้เรื่อง UNCONSCIOUS (2004, JOAQUIN ORISTRELL, A-) ก็คิดว่าเขาเล่นได้ดีเช่นกัน
ได้ยินว่า LUIS TOSAR เคยเล่นได้อย่างสุดยอดมากๆใน TAKE MY EYES (2003, ICIAR BOLLAIN) และก็เคยเห็นดีวีดีหนังเรื่องนี้วางขายในสีลมด้วย
LUIS TOSAR
http://www.controlarms.org/es/images/tosar_arma.jpg
รู้สึกชอบจังหวะการจบของ MIAMI VICE มากๆ และทำให้นึกถึงตอนจบของ ALFIE (2004, CHARLES SHYER, A+) กับ LADY IN THE WATER เพราะ”เนื้อหา” ในตอนจบของหนัง 3 เรื่องนี้ไม่ค่อยเข้าทางดิฉันสักเท่าไหร่ แต่หนัง 3 เรื่องนี้เลือกจบใน “จังหวะ” ที่เข้าทางดิฉันมากๆ นั่นก็คือรีบจบก่อนที่อารมณ์จะดิ่งลงเหว ดิฉันคิดว่าถ้าหากหนัง 3 เรื่องนี้ยืดฉากจบให้ยาวขึ้นอีก 5 นาที หนัง 3 เรื่องนี้ก็อาจจะร่วงจาก A+ ลงมาอยู่ที่ C+ ได้อย่างง่ายๆเหมือนกัน
บางฉากในหนังเรื่องนี้ทำให้นึกถึง NIGHT MOVES (1975, ARTHUR PENN, A) ที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับความลึกลับบางอย่างนอกชายฝั่งรัฐฟลอริดา
http://images.amazon.com/images/P/B0009GX1CE.01._SS500_SCLZZZZZZZ_V1116409247_.jpg
ประโยคที่ชอบมากใน NIGHT MOVES คือประโยคที่ว่า THE TRUTH IS A LIE THAT HASN’T BEEN FOUND OUT หรือสิ่งที่เราเชื่อว่าเป็นความจริงในขณะนี้นั้น จริงๆแล้วมันเป็นเพียงความเท็จที่ยังไม่ถูกเปิดโปงออกมา
ตัวละคร CROCKETT (COLIN FARRELL) ใน MIAMI VICE ดูเหมือนจะมีความขัดแย้งที่น่าสนใจดี ระหว่างความรักที่มีต่อ GONG LI กับหน้าที่ตำรวจ แต่ถ้าหากเทียบกับตัวละครอื่นๆในหนังที่ได้ดูมาในระยะนี้แล้ว รู้สึกว่าความขัดแย้งในใจ CROCKETT เป็นสิ่งที่เบามากๆ
ตัวละครที่มีความขัดแย้งในใจที่ดิฉันชอบมากในระยะนี้
A. CONSTANCE RADETSKY (DIANE KRUGER) ใน TIGER BRIGADES (2006, JEROME CORNUAU, A+)
รู้สึกชอบปฏิกิริยาของตัวละครตัวนี้ที่มีต่อทั้งสามี (ALEKSANDR MEDVEDEV), ชู้รักที่เป็นผู้ก่อการร้าย (JACQUES GAMBLIN จาก VAN GOGH), ชู้รักที่เป็นตำรวจ (CLOVIS CORNILLAC), ผู้ก่อการร้ายที่ชั่วร้าย และตำรวจที่ชั่วร้าย การที่ตัวละครใน TIGER BRIGADES มีหลายฝ่าย ส่งผลให้ปฏิกิริยาของตัวละครไม่ได้มีแค่เพียงปฏิกิริยาของนางเอกกับตัวละครฝ่ายดี และปฏิกิริยาของนางเอกกับตัวละครฝ่ายเลวเท่านั้น เพราะตัวละครนางเอกเองก็มีความโหดร้ายอยู่ภายใน และตัวละครบางตัวก็ยากจะวัดได้ว่าใครดีเลวหรือถูกผิดมากกว่ากัน
B.ANZOR “DUKE” YUGORSKY (KAREL RODEN) ใน RUNNING SCARED
จัดเป็นหนึ่งในตัวละครผู้ร้ายที่น่าสนใจที่สุดในปีนี้ เพราะตัวละครตัวนี้ทำร้ายภรรยากับลูกเลี้ยงอย่างชั่วร้ายมาก แต่ในขณะเดียวกันเขาก็เคยช่วยชีวิตภรรยา และความหมกมุ่นของเขาที่มีต่อจอห์น เวย์นและหนังเรื่อง THE COWBOYS (1972, MARK RYDELL) ก็เป็นหนึ่งในสิ่งที่น่าประทับใจที่สุดในหนังเรื่องนี้
http://images.amazon.com/images/P/6305133107.01._SS500_SCLZZZZZZZ_V1122574575_.jpg
9.CRASH (วรวิทย์ อิกำเหนิด, A+)
ดูแล้วงงมาก
10.LOVEAHOLIC (2006, พิง ลำพระเพลิง, A+/A)
ชอบวิสา สารสาส กับอัครา อมาตยกุลมากๆ ชอบการตัดต่อของหนังเรื่องนี้มาก และการที่ดิฉันไม่ค่อยถูกโฉลกกับหนังโรแมนติกสักเท่าไหร่ ก็เลยทำให้ชอบการที่หนังเรื่องนี้เปลี่ยนไปเป็นหนังผีและหนังตลกในช่วงครึ่งหลังของเรื่อง อย่างไรก็ดี การที่หนังเรื่องนี้ให้ความสำคัญกับอัครา อมาตยกุลน้อยเกินไป ก็เลยทำให้ชอบหนังเรื่องนี้ไม่ถึง A+ ฮ่าๆๆๆๆ
11.คำถาม (ณัฎฐ์ธร กังวาลไกล, A+/A)
12.M 6/3 THE MOVIE (ศุภชัย พรหมสิทธิเวท, A)
13.รอดช่อง (มณีกาญจน์ ไชยนนท์, A)
หนังเรื่องนี้มีเนื้อหาบางส่วนเกี่ยวกับเกย์
14.ทรมาน (วีรชาติ งามศิลป์, A)
หนังเรื่องนี้มีเนื้อหาเกี่ยวกับผู้ชายที่ชอบโชว์อวัยวะเพศ
15.BALANCE (นรชาย กัจฉปานนท์, A)
16.LONELY NO MORE (วิสูตร รวีรุ่งจรัส, A)
หนังผีเรื่องนี้แหวกแนวไปจากหนังผีทั่วไป ชอบฉากชายหนุ่มอาบน้ำในหนังเรื่องนี้
นึกไม่ค่อยออกว่ามีหนังผีเรื่องไหนอีกบ้างที่มีฉากชายหนุ่มอาบน้ำ อ้อ มี 303 กลัวกล้าอาฆาต (1998, A-/B+) ที่คัดเลือกนักแสดงชายเข้าฉากอาบน้ำได้ดีมาก
17.โรงเรียนสยองขวัญ (สมภพ เมธาสถิตย์สุข, A/A-)
18.เดอะ เลอะเทอะ สตอรี่ (ปรวิศ พวงศรี, A-)
19.เพื่อน (ปราโมทย์ ปั้นน่วม, A-)
20.มัจจุราช (อุเทน ศรีริวิ, A-)
ชอบฉากเปิดหนังเรื่องนี้ในระดับ A+++++ ที่เป็นชายหนุ่มไม่ใส่เสื้อดูดบุหรี่เป็นเวลาติดต่อกันนานมาก
21.แล้วแต่คุณ (ศุกลภัทร ประสงค์ทรัพย์, A-)
ชอบส่วนที่เกี่ยวกับสาวบ้าล็อตเตอรี่ในหนังเรื่องนี้มาก ความรู้สึกของดิฉันที่มีต่อหนังเรื่องนี้คล้ายกับความรู้สึกที่มีต่อหนังเรื่อง “ฝัน” (ศุกลภัทร ประสงค์ทรัพย์, A) ในจุดนึง นั่นก็คือว่าชอบ “ไอเดีย” บางอย่างในหนังสองเรื่องนี้มากๆ แม้เนื้อหาบางส่วนจะไม่เข้าทางดิฉันสักเท่าไหร่
22.ความเชื่อ (อาทิเทพ ปถวีธาตุ, A-)
23.ซูเปอร์เด็กวัด (สหรัฐ มานิตยกุล + ปัทมา หวังคอนกลาง, A-)
รู้สึกว่าหนังเรื่องนี้มีหลายส่วนที่ฝืดมาก แต่ชอบฉาก “นักศึกษาสาวที่พยายามบังคับให้กล้องถ่ายหนังบันทึกภาพตัวเธอขณะเศร้าใจตามจุดต่างๆในมหาลัย”อย่างมากๆในระดับ A+++++ และถ้าหากเทียบหนังเรื่องนี้กับหนังสั้นแนวสั่งสอนศีลธรรมอีกหลายสิบเรื่องแล้ว ก็รู้สึกยอมรับ “ท่าที” ของหนังเรื่องนี้ได้มากที่สุดเมื่อเทียบกับหนังสั่งสอนศีลธรรมเรื่องอื่นๆ
24.SILENT ROOM (กิตติพัฒน์ กนกนาค, A-)
25.คำตอบ (ชาคริต วิชัยยุทธิ์, A-)
26.SAD MOVIE (2005, KWON JONG-KWAN, B+)
ถึงแม้โดยรวมๆจะชอบหนังเรื่องนี้แค่ B+ แต่ถ้าหากนับเฉพาะช่วงของสาวใบ้หน้าเสียโฉม (ชินมินอา) ก็ชอบช่วงนั้นมากในระดับ A+
27.แข่ง: ชนะ: แพ้: เสมอ: ได้: เสีย: แต้ม (จุดเริ่มต้น) (พิชย จรัสบุญประชา, B+)
28.SENSE (ธีรัช คล่งเวสสะ)
น่าเสียดายที่หนังเรื่องนี้บันทึกเสียงไม่ดี จนทำให้ไม่ได้ยินเลยว่าตัวละครคุยกันว่าอะไรบ้าง เพราะฉะนั้นก็เลยของดออกความเห็น แต่ถ้าเข้าใจไม่ผิด ตัวละครชายหนุ่มหญิงสาวในหนังเรื่องนี้เรียนโรงเรียนเดียวกับน้อง merveillesxx
monologue/dialogue
Monologue/Dialogue
นิทรรศการทัศนศิลป์สานสัมพันธ์ไทย-อังกฤษ
ตลอดเดือนสิงหาคม 2549
บริติช เคานซิล ร่วมกับหอศิลปมหาวิทยาลัยกรุงเทพ หอศิลปวิทยนิทรรศน์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และ 100 ต้นสนแกเลอรี่ ขอเชิญท่านชม Monologue/Dialogue นิทรรศการทัศนศิลป์จากอังกฤษและไทย แสดงผลงานศิลปินร่วมสมัยในวงการศิลปะร่วมสมัยไทยและอังกฤษ ตลอดเดือนสิงหาคม 2549 นี้
ณ หอศิลปวิทยนิทรรศน์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 100 ต้นสนแกเลอรี่ และหอศิลปมหาวิทยาลัยกรุงเทพ ด้วยการสนับสนุนจากโรงพยาบาล BNH
ชมการแสดงผลงานออกแบบอันเลื่องชื่อของ Damien Hirst ศิลปินรุ่นใหม่ที่เขย่าวงการศิลปะให้ฮือฮาทุกครั้งที่นำผลงานออกแสดงกับผลงานชุด The Last Supper ที่พลิกมุมมองการรับรู้ของคน ร่วมด้วยการจัดแสดงผลงานชั้นยอดจากศิลปินชาวอังกฤษ อาทิ Douglas Gordon Luke Fowler Stephen Sutcliffe Szuper Gallery และ Carey Young
ภายใต้ Monologue/Dialogue แบ่งออกเป็น Monologue นำเสนอ 3 นิทรรศการงานทัศนศิลป์ 3 สไตล์
ณ 3 แกเลอรี่ จากอังกฤษสู่เมืองไทย และ Dialogue ที่เปิดโอกาสให้ 3 ศิลปินไทย และ 3 ศิลปินอังกฤษ ในโครงการ artists-in-residence แลกเปลี่ยนความคิดและเรียนรู้และนำเสนอผลงาน ณ หอศิลปมหาวิทยาลัยกรุงเทพ
Monologue
The Last Supper
ผลงานโดย Damien Hirst
4-27 สิงหาคม ณ 100 ต้นสน แกเลอรี่
Damien Hirst หนึ่งในศิลปินชื่อดังที่คว้ารางวัลคุณภาพอย่าง Turner Prize ประจำปี 1995 และเป็นศิลปินที่ได้รับการกล่าวขวัญถึงทั่วอังกฤษและยุโรปโดยเฉพาะในหมู่คนรุ่นใหม่
ผลงานชุด The Last Supper ประกอบด้วยภาพพิมพ์จำนวน 13 ภาพ ขนาด 152.5 x 101.5 เซนติเมตร ที่ลอกเลียนแบบดีไซน์จากเวชภัณฑ์ต่างๆ Hirst ใช้สีโทนที่ชวนให้คนดูต้องนึกว่าเป็นยามากกว่าจะเป็นอย่างอื่นได้ เขาได้รับแรงบันดาลใจในการผลิตผลงานที่ท้าทายการรับรู้ของคนชุดนี้มาจากแค็ตตาล็อกโฆษณาเวชภัณฑ์ต่างๆ นั่นเอง
ข้อมูลเกี่ยวกับอาหารและปริมาณของผลิตภัณฑ์ถูกพิมพ์โดยใช้ชื่อเหมือนเวชภัณฑ์บนบรรจุภัณฑ์ของอาหารที่คนอังกฤษทั่วไปนิยมบริโภค เช่น Beans Chips และ Cornish Pasty ศิลปินจู่โจมเข้าท้าทายการรับรู้ของผู้คน สร้างความสงสัยว่าอาหารเหล่านั้นจะมีขายในร้านขายยาด้วยหรือเปล่า
การดัดแปลงง่ายๆ นี้เปิดสู่คำถามหลายหลากเกี่ยวกับธรรมชาติของความเชื่อมั่นในองค์กรใหญ่ๆ และความศรัทธาอย่างไม่ลืมหูลืมตาในยาที่จะช่วยบรรเทารักษาความเจ็บปวดทางร่างกายของคนเราได้ของผู้คนในสังคมปัจจุบัน
ทั้งศรัทธาและความเชื่อในศาสนาต่างถูกปลุกขึ้นโดยการจัดสรรทางโครงสร้างทางความคิดอย่างลงตัวในผลงาน The Last Supper ของ Damien Hirst 13 ภาพพิมพ์นำเสนอ 13 ผู้ร่วมโต๊ะอาหาร ชื่อเรื่องนั้นได้แนะนำถึงโภชนาการเพื่อร่างกายและจิตใจ ควบคู่ไปกับการย่อยสลายและความตาย ซึ่งเป็นสาระหลักในงานของ Hirst และนี่คือ 13 ภาพพิมพ์ร่วมสมัยซึ่งแสดงแนวคิดแหวกจากธรรมเนียมที่ผู้คนยึดถือโดยนำมาเล่นกับการผลิตสินค้าและโลกแห่ง การค้าในยุคนี้
Damien Hirst
Damien Hirst เกิดเมื่อปี 1965 ในเมืองบริสตอล สหราชอาณาจักร เขาได้รับปริญญาด้านศิลปะจาก Goldsmith's College มหาวิทยาลัยลอนดอน ในปี 1989 เขาให้เหตุึผลในการเลือกเรียนสาขานี้ว่า มันไม่จำกัดเฉพาะการวาดภาพ หรือประติกรรมกรรมเท่านั้น แต่มันเกี่ยวกับศิลปะหลากหลายซึ่งตรงตามที่เขาต้องการ
Damien Hirst คว้ารางวัลคุณภาพอย่าง Turner Prize ประจำปี 1995 เขาเป็นศิลปินรุ่นใหม่ที่เขย่าวงการศิลปะให้ฮือฮาทุกครั้งที่เขานำผลงานออกแสดง และยังเป็นศิลปินที่สะท้อนสังคมในยุคของเขา ในขณะที่เขาดูเหมือนจะเป็นพวกหัวรุนแรงในทัศนะของหลายต่อหลายคน แต่ในโลกของศิลปะเขากลับเป็นส่วนหนึ่งของสถาบัน เขามักจะทำงานกับสิ่งที่มีอยู่แล้ว สิ่งที่ทำให้ช็อค และเสียดสี เพื่อที่จะนำเสนอแง่คิด และกระตุ้นให้เกิดการวิพากษ์วิจารณ์ไปในด้านต่างๆ ซึ่งเป็นการค้นหาขอบเขตใหม่ๆให้ข้ามไป ซึ่งเป็นการตอกย้ำแก่แฟนๆ ของเขาถึงความเป็นพวกหัวรุนแรง และที่มีความสำคัญไม่ยิ่งหย่อนไปกว่ากันก็คือการตอกย้ำถึงความแตกต่างทางสังคมระหว่าง ผู้รู้และพวกไม่รู้ Damien Hirst และเป็นศิลปินที่ได้รับการกล่าวขวัญถึงทั่วอังกฤษและยุโรปโดยเฉพาะในหมู่คนรุ่นใหม่
ผลงานของเขาได้จัดแสดงในหลายนิทรรศการรวมศิลปิน อาทิYoung British Artists (Saatchi Gallery, 1992) Sensation (Royal Academy of Arts, 1997) และนิทรรศการแสดงผลงานเดี่ยวของเขา ได้แก่ Theories, Models, Methods, Approaches, Assumptions, Results and Findings ที่ Gagosian Gallery ในนิวยอร์ก เมื่อปี 2000 Damien Hirst เป็นศิลปินที่ได้รับการกล่าวขวัญถึงทั่วอังกฤษและยุโรปโดยเฉพาะในหมู่คนรุ่นใหม่
Electric Earth: Film and Video from Britain
ผลงานโดย Adam Chodzko, Volker Eichelmann & Roland Rust, Folk Archive, Luke Fowler, Rob Kennedy, Torsten Lauschmann, Mark Leckey, Hilary Lloyd, Oliver Payne & Nick Relph, Paul Rooney, Stephen Sutcliffe, Szuper Gallery, Wolfgang Tillmans, Mark Titchner และ Carey Young
7 สิงหาคม – 2 กันยายน ณ หอศิลปวิทยนิทรรศน์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Electric Earth เป็นนิทรรศการแสดงผลงานในรูปแบบวีดีทัศน์
ว่าด้วยวิถีการดำเนินชีวิตและความคิดความเชื่อที่แตกต่างของแต่ละคน
ผลงานของหลากหลายศิลปินหลากหลายแนวคิดได้หยิบยกเอาหลายสิ่งที่ถูกมองข้ามในสังคมที่มีผลต่อการตัดสินใจโครงสร้างสังคมได้ ศิลปินวางตนในฐานะ ‘ผู้กำกับ’ หรือ ‘ผู้อำนวยความสะดวก’ พยายามที่จะกระตุ้นให้ผู้คนไต่ถามถึงการมีส่วนร่วม โดยได้ค้นหาแนวทางที่เหมาะสมและล้มล้างพื้นฐานของอำนาจในเรื่องที่นำเสนออย่างเรียบง่าย ด้วยวิธีดังกล่าวนี้ ศิลปินใน Electric Earth ก้าวไปถึงเรื่องการขยายขอบเขตความเข้าใจระบบและรหัสทางสังคม โดยจัดวางตำแหน่งความคาดหวังของผู้ชมเสียใหม่
เรื่องราวที่ติดตามมาของนิทรรศการวิดีทัศน์ในกล่องดำที่ได้รับความนิยมนี้ Electric Earth ได้ก่อให้เกิดการถกเถียงในเรื่องการพัฒนาการเล่าเรื่องกระแสหลักและความเหมาะสมในการออกอากาศของศิลปะทางวิดีทัศน์ ซึ่งในยุคนี้ผู้คนสามารถสร้างศิลปะทางวิดีทัศน์และตัดต่อผ่านโปรแกรมได้จากคอมพิวเตอร์ที่บ้าน การบรรจบกันของโฆษณา สารคดี ภาพยนตร์กระแสหลัก และภาพยนตร์เชิงศิลปะ ก็เพิ่มมากขึ้น ศิลปินที่สร้างงานด้านวิดีทัศน์ทุกวันนี้กำลังหันเหงานงดงามน่าชื่นชมแนวแกเลอรี่สู่การประยุกต์งศิลปะเข้ากับโครงสร้างทางสังคมและโฆษณา
Electric Earth จัดฉายบนจอสไตล์โรงภาพยนตร์ขนาดใหญ่ 3 จอและ 2 จอมอนิเตอร์ขนาดย่อม เพื่อพาคุณเดินทางเยี่่ยมชมโลกแห่งการค้า แฟชั่น วัยรุ่น ชีวิตใต้แสงไฟและเสียงดนตรียามค่ำคืน การฟื้นฟูสภาพจิตใจ ศรัทธาแห่งศาสนา ไร้ความหวังกับการงาน การเชื่อมโยงของข้อมูลข่าวสารของชีวิตในศตวรรษที่ 21
10MS-1 Exhibition
โดย Doglas Gordon
7 สิงหาคม – 2 กันยายน
ณ หอศิลปวิทยนิทรรศน์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Douglas Gordon ศิลปินที่ได้รับรางวัลจากเวที Turner Prize ประจำปี 1996
มีพรสวรรค์ในการสร้างงานศิลป์ผ่านสื่อแขนงต่างๆ รวมทั้งภาพถ่ายและงานประติมากรรม ตลอดจนงานเขียนหลากหลายแนว
1ms-10 เป็นการฉายภาพวิดีทัศน์บนจอขนาดใหญ่ footageภาพจากวีดิทัศน์คือ ส่วนที่ยกมาของภาพยนตร์ด้านการแพทย์ในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 1 ที่บันทึกภาพความพยายามของผู้ชายคนหนึ่งที่ได้รับบาดเจ็บทางจิตใจและพยายามที่จะลุกขึ้นยืนใหม่อีกครั้ง ในฉากแรกจะเห็นชายคนนี้ยืนอยู่หลังจอและค่อยๆ ล้มลงบนพื้น ทั้งเนื้อทั้งตัวเขาสวมใส่เพียงกางเกงใน ดูจากภายนอกเขาน่าจะมีร่างกายและกล้ามเนื้อที่แข็งแรงน่าจะพยุงตนเองให้ลุกขึ้นยืนได้ เขาพยายามครั้งแล้วครั้งเล่าที่จะยกตัวเองให้ลุกขึ้นจากพื้น แต่แล้วก็ล้มเหลวไม่เป็นท่า สภาพทางร่างกายที่ดูสมบูรณ์แข็งแรงของเขากลับไร้ความสามารถที่จะทำสิ่งง่ายๆ อย่างการยืนด้วยเท้าของเขาเองกลายเป็นเรื่องน่าสะเทือนใจมากขึ้น Gordon ดึงภาพให้ช้าลงและต่อเข้าเป็นวงจรที่ไม่มีที่สิ้นสุด กักขังชายผู้บอบช้ำให้ถูกฉายซ้ำความล้มเหลวแห่งความพยายามกับการต่อสู้กับร่างกายของตนเองซ้ำไปซ้ำมา
ช่วงกลางทศวรรษ 1990 Gordon ได้สร้างสรรค์ผลงานที่เกี่ยวกับการฉายภาพซึ่งเขาได้จัดการปรับเปลี่ยนและนำเสนอบนจอภาพขนาดใหญ่ ผลงานที่เป็นที่กล่าวขวัญถึงมากที่สุดก็คือ การที่เขานำภาพยนตร์เรื่อง Psycho ของราชาภาพยนตร์สยองขวัญ อัลเฟรด ฮิทช์คอก มายืดให้ยาวนานถึง 24 ชั่วโมง หรือที่รู้จักกันในชื่อผลงานว่า 24 Hour Psycho (1993) เขาสร้างงานหลายชิ้นที่นำมาจากภาพยนตร์ทางการแพทย์ซึ่งถ่ายทำการทำงานที่ผิดปกติของจิตใจ Hysterical (1994-5) เป็นส่วนหนึ่งของภาพยนตร์สาธิตทางการแพทย์ในปี 1908 ที่นำเอาเทคนิคจากการรักษาโรคฮิสทีเรียในผู้หญิง ภาพจาก 10ms-1 ซึ่งบันทึกเรื่องราวของอาการที่เกิดขึ้นจริงจากความชอกช้ำจากสงคราม หรือที่รู้จักกันว่า 'shell shock' บันทึกการแสดงให้เห็นอย่างเด่นชัดของสิ่งที่ต่อมารู้จักกันในนามโรคฮิสทีเรียใน ผลงานของ Gordon ได้ล้วงลึกถึงกลไกการรับรู้ทั้งทางร่่างกายและจิตใจ งานหลายชิ้นของเขาได้รับการผลิตขึ้นจากการนำภาพยนตร์มาแยกส่วนผ่านการลดความเร็วและการฉายภาพบนจอขนาดใหญ่ บางครั้งก็มากกว่าหนึ่งจอ เพื่อที่จะดึงดูดความสนใจของผู้ชมให้อยู่กับรายละเอียดที่เคยถูกมองข้าม
เทคนิคเหล่านี้ท้าทายการประกอบสร้างความหมายผ่านความจำและความสัมพันธ์ของผู้ชมทั้งทางร่างกายและจิตใจด้วยภาพเคลื่อนไหว Gordon กล่าวว่าเขา ‘สนใจในพื้นที่ที่ีการรับรู้ล่มสลาย หรือความจริงที่ว่าแท้จริงแล้วเราไม่รู้ว่ามันทำงานอย่างไรหรือเหตุใดมันถึงผิดปกติ'
ด้วยเทคนิคการดึงภาพให้เดินช้าลง เขามุ่งหวังที่จะเปิดเผย ‘มุมมองแห่งประสบการณ์ที่ติดตัวเราไปด้วยทุนหนทุกแห่งแต่เราอาจไม่ตระหนักว่ามันมีผลต่อการขัดเกลาการรับรู้ของเรา’
Douglas Gordon
ดักกลาส กอร์ดอนเป็นหนึ่งในศิลปินที่มีความสำคัญในยุคของเขา เขาได้รับรางวัลอันทรงเกียรติทางด้านศิลปะนั่นคือ “เทอร์เนอร์ไพรซ์” ในปี 1996 งานของกอร์ดอนใช้สื่อที่หลากหลายมาก ทั้งงานภาพถ่าย ประติมากรรม งานเขียน และอื่นๆอีกมากมาย ถึงกระนั้นวิธีการที่เป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัวในการจัดการกับภาพในงานจัดวางของเขา
กอร์ดอนเกิดที่กลาสโกว์ และเข้าศึกษาที่ โรงเรียนศิลปะในกลาสโกว์ ระหว่างปี ค.ศ. 1984-88 และมาศึกษาต่อที่ สเลด (Slade School of Art) แห่งมหาวิทยาลัยลอนดอนระหว่างปี 1988-1996 และยังได้รับทุนให้ไปศึกษาต่อและทำงานในอีกหลายประเทศ อาทิ เยอรมันนี อิตาลี นิวยอร์ค
Dialogue
1-30 สิงหาคม ณ หอศิลปมหาวิทยาลัยกรุงเทพ
ในเดือนมิถุนายนนี้ 3 ศิลปินจากอังกฤษ Andrew Stahl Eric Bainbridge และ Nathaniel Rackowe จะเดินทางมาสานสัมพันธ์ด้านงานศิลปะร่วมกับ 3 ศิลปินไทย อาจารย์สรรเสริญ มิลินทสูต อาจารย์นิพันธ์ โอฬารนิเวศน์ และสถิตย์ ศัสตรศาสตร์ เป็นระยะเวลา 6 สัปดาห์ เพื่อสรรค์สร้างภาพวาด งานปั้น ผสมผสานกับสื่อและวิธีการนำเสนอ ชิ้นงานจากการรวมพลังสร้างสรรค์เหล่านี้ผลิตขึ้นเป็นพิเศษเพื่อ Monologue/Dialogue โดยเฉพาะ
Andrew Stahl มีผลงานนิทรรศการแสดงอย่างกว้างขวางในประเทศอังกฤษ และต่างประเทศ ตั้งแต่ปี 1990 เขาได้รับรางวัลมากมาย และทุนในการมาทำงานในประเทศต่างๆ รวมทั้งมหาวิทยาลัยศิลปากร ในประเทศไทย Arts Council, British Council รวมทั้ง Museum of Art New York ต่างก็รวบรวมผลงานของเขาไว้ในงานสะสม
เร็วๆนี้ ผลงานของเขาก็ได้ออกนำแสดงใน ลอนดอน เยอรมันนี ไอร์แลนด์เหนือ และในประเทศไทย ซึ่งมีทั้งผลงานแสดงเดี่ยว และแสดงร่วมกับศิลปินชื่อดังของไทย ปัญญา วิจินธนสาร
จบการศึกษาจาก Slade School of Fine Art กรุงลอนดอน นิทรรศการผลงานเดี่ยวครั้งแรกของเขาจัดขึ้นที่ AIR Gallery กรุงลอนดอน เมื่อปี 1981 เขายังเป็นอาจารย์ที่ Chelsea School of Art และหัวหน้าแผนก Head of Undergraduate Painting ที่ Slade School นอกจากนี้ เขาเคยจัดแสดงผลงานในเมืองไทยที่กรุงเทพฯ และเชียงใหม่ มาแล้ว
การที่จะจัดประเภทงานของแอนดรูว์นั้นไม่ใช่เรื่องง่าย ภาพเขียนของเขาดูเหมือนจะดูสงบนิ่งๆ แต่ถ้ามองลึกลงไปมันมีความสับสนวุ่นวายและตึงเครียดแอบซ่อนอยู่ ซึ่งเป็นความขัดแย้งที่กลมกลืน การที่เขามักจะมีภาพของวัตถุบางอย่างที่นำมาใช้ซ้ำๆ ในผลงานของเขาซึ่งมันได้กลายเป็นสัญลักษณ์ไปอย่างช่วยไม่ได้ ซึ่งสัญลักษณ์เหล่านี้จะไม่ได้รับการปรุงแต่ง แต่จะเป็นแค่ภาพนิ่งเท่านั้น เอกลักษณ์ของงานของเขาเกิดจากการใช้สเกลที่คาดไม่ถึงของสิ่งของที่แตกต่างกันทำให้ไม่มีความสัมพันธ์ทางสัดส่วนของสิ่งของต่างๆ และมักจะลอยอยู่บนความเรียบแบน ทำให้ดูประหนึ่งล่องลอยอยู่ในบรรยากาศ
Eric Bainbridge เป็นเฟลโลของ Henry Moore Foundation ระหว่างปี 1989-91 และได้รับรางวัลจาก Paul Hamlyn Foundation ด้านงานประติมากรรมเมื่อปี 1996 เป็นอาจารย์สอนประติมากรรมที่ Royal College of Art ระหว่างปี 1991-2000 และปัจจุบันดำรงตำแหน่งศาตราจารย์ทางด้านทัศนศิลป์อยู่ที่มหาวิทยาลัย Sunderland
ชื่อเสียงของเขาเริ่มเป็นที่รู้จักในแวดวงศิลปะตั้งแต่ปี 1980 งานของเขาได้จัดแสดงแย่างกว้างขวางทั้งในยุโรปและอเมริกา อาทิ Walker Art Centre, ICA ที่ Boston และ Salvatore Ala Gallery นิวยอร์ก (1988) Stedelijk Museum ในอัมสเตอร์ดัม Venice Biennale ในปี 1986 และ Riverside Studios and Delfina ในลอนดอน
นิทรรศการที่เพิ่งผ่านมาเมื่อเร็วๆนี้ จัดแสดงที่ Zoo and Pulse Art Fairs กับ Workplace ใน Gateshead “Collage” ที่ Bloomberg ในลอนดอน Salvatore & Caroline Ala ในมิลาน และนิทรรศการออกแสดงทั่วอังกฤษ “Size Matters” “Glad things don’t talk” ที่ Irish Museum of Modern Art ณ กรุงดับลิน และผลงานล่าสุดของเขากำลังจัดแสดงอยู่ที่ Royal Academy of Arts ในกรุงลอนดอน
งานของเขามักจะเล่นกับขนาดและสถานภาพของวัตถุ และใช้วัสดุที่ร่วมสมัย โดยใช้เทคนิคและรูปแบบที่มักคาดไม่ถึงและมีอารมณ์ขัน
Nathaniel Rackowe จบการศึกษาด้านทัศนศิลป์จาก Sheffield และ Slade School แห่งมหาวิทยาลัยลอนดอน เขารังสรรค์งานประติมากรรมเคลื่อนไหวซึ่งส่งผลอย่างมากทั้งทางแนวคิดและการรับรู้ของผู้ชม ในปี 2002 ผลงานร่วมสมัยของเขาได้รับเลือกใน Liverpool Biennial ต่อมาได้จัดแสดงที่ Barbican กรุงลอนดอน เขาได้รับการติดต่อให้สร้างผลงานปฏิมากรรมเพื่อตั้งแสดงเป็นงานถาวร ที่ Victoria ในกรุงลอนดอน 2005 และให้สร้างงานปฏิมากรรมที่ทำจากหลอดไฟเพื่อติดตั้งที่ The Forest of Dean Sculpture Trail ในปี 2006 และนิทรรศการที่จะมีขึ้นในอนาคตอันใกล้นี้ที่ Museum of Contemporary Art ในไมอามี่ ในเดือนธันวาคม ปีนี้ และจะมีผลงานเดี่ยวที่ Gallerie Almine ในกรุงปารีส ในเดือนมีนาคม 2007
Rana Begum
เป็นศิลปินสื่อผสมอยู่ในลอนดอน เธอเป็นชาวบังคลาเทศ งานของเธอเกิดจากการการผสมผสานระหว่างการเป็นศิลปินผู้หญิงที่ได้รับการเลี้ยงดูมาแบบมุสลิม และมามีประสบการณ์กับวัฒนธรรมตะวันตก เธอได้นำวัฒนธรรมตะวันตกตะวันออกมาสอดประสานไว้ในงานของเธอ ดังนั้นงานของเธอจึงมีกลิ่นอายของงานศิลปะและสถาปัตยกรรมของอิสลาม ไม่ใช่เพียงแต่เฉพาะสีและรูปแบบเท่านั้น แต่หลอมรวมเอาจิตวิญญาณและสัญลักษณ์เข้าไว้ด้วย โดยใช้วัสดุที่ผิดแผกไป เช่น ไวนิล และเทปไฟฟ้า เธอจะค่อยจัดวางงานไม่ว่าจะเป็นแนวตรงหรือขวางอย่างประณีตบรรจง ในรูปแบบทรงเรขาคณิต และเคลือบงานด้วยเรซินบางๆ
หลังจากจบการศึกษาจาก Slade School แห่งมหาวิทยาลัยลอนดอน รานา บีกัมได้แสดงผลงานของเธอที่ Purdy Hicks and Rifflemaker ในลอนดอน Dahi Gallery ในสวิสเซอร์แลนด์ และ Haines Gallery ในซานฟรานซิสโก เธอยังได้รับการว่าจ้างให้สร้างผลงานเพื่อตั้งแสดงที่ โรงพยาบาล Lewisham และโรงพยาบาล Coventry โดยทำงานร่วมกับ Tess Jaray
www.ranabegum.com
สถิตย์ ศัสตรศาสตร์
เกิดที่ชลบุรี จบจากคณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เมื่อปี 2003 ผลงาน เขามีผลงานศิลปะโดยใช้สื่อวีดิทัศน์ ซึ่งรวมถึงงานจัดวาง และภาพยนตร์ทดลอง โดยเริ่มแสดงงานครั้งแรกในปี 2000 และมีผลงานแสดงมาอย่างต่อเนื่องทั้งในและต่างประเทศ อาทิ Bangkok International Film Festival, Bangkok Experimental Film Festival, Tirana International Film Festival Jeonju International Film Festival 2006 ผลงานของเขาออกแสดงในงานนิทรรศการกลุ่ม ที่ หอศิลปวิทยนิทรรศน์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และงานแสดงเดี่ยว ในปี 2005 ณ หอศิลปะมหาวิทยาลัยกรุงเทพ ภายใต้โครงการ Brand New
นิทรรศการทัศนศิลป์สานสัมพันธ์ไทย-อังกฤษ
ตลอดเดือนสิงหาคม 2549
บริติช เคานซิล ร่วมกับหอศิลปมหาวิทยาลัยกรุงเทพ หอศิลปวิทยนิทรรศน์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และ 100 ต้นสนแกเลอรี่ ขอเชิญท่านชม Monologue/Dialogue นิทรรศการทัศนศิลป์จากอังกฤษและไทย แสดงผลงานศิลปินร่วมสมัยในวงการศิลปะร่วมสมัยไทยและอังกฤษ ตลอดเดือนสิงหาคม 2549 นี้
ณ หอศิลปวิทยนิทรรศน์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 100 ต้นสนแกเลอรี่ และหอศิลปมหาวิทยาลัยกรุงเทพ ด้วยการสนับสนุนจากโรงพยาบาล BNH
ชมการแสดงผลงานออกแบบอันเลื่องชื่อของ Damien Hirst ศิลปินรุ่นใหม่ที่เขย่าวงการศิลปะให้ฮือฮาทุกครั้งที่นำผลงานออกแสดงกับผลงานชุด The Last Supper ที่พลิกมุมมองการรับรู้ของคน ร่วมด้วยการจัดแสดงผลงานชั้นยอดจากศิลปินชาวอังกฤษ อาทิ Douglas Gordon Luke Fowler Stephen Sutcliffe Szuper Gallery และ Carey Young
ภายใต้ Monologue/Dialogue แบ่งออกเป็น Monologue นำเสนอ 3 นิทรรศการงานทัศนศิลป์ 3 สไตล์
ณ 3 แกเลอรี่ จากอังกฤษสู่เมืองไทย และ Dialogue ที่เปิดโอกาสให้ 3 ศิลปินไทย และ 3 ศิลปินอังกฤษ ในโครงการ artists-in-residence แลกเปลี่ยนความคิดและเรียนรู้และนำเสนอผลงาน ณ หอศิลปมหาวิทยาลัยกรุงเทพ
Monologue
The Last Supper
ผลงานโดย Damien Hirst
4-27 สิงหาคม ณ 100 ต้นสน แกเลอรี่
Damien Hirst หนึ่งในศิลปินชื่อดังที่คว้ารางวัลคุณภาพอย่าง Turner Prize ประจำปี 1995 และเป็นศิลปินที่ได้รับการกล่าวขวัญถึงทั่วอังกฤษและยุโรปโดยเฉพาะในหมู่คนรุ่นใหม่
ผลงานชุด The Last Supper ประกอบด้วยภาพพิมพ์จำนวน 13 ภาพ ขนาด 152.5 x 101.5 เซนติเมตร ที่ลอกเลียนแบบดีไซน์จากเวชภัณฑ์ต่างๆ Hirst ใช้สีโทนที่ชวนให้คนดูต้องนึกว่าเป็นยามากกว่าจะเป็นอย่างอื่นได้ เขาได้รับแรงบันดาลใจในการผลิตผลงานที่ท้าทายการรับรู้ของคนชุดนี้มาจากแค็ตตาล็อกโฆษณาเวชภัณฑ์ต่างๆ นั่นเอง
ข้อมูลเกี่ยวกับอาหารและปริมาณของผลิตภัณฑ์ถูกพิมพ์โดยใช้ชื่อเหมือนเวชภัณฑ์บนบรรจุภัณฑ์ของอาหารที่คนอังกฤษทั่วไปนิยมบริโภค เช่น Beans Chips และ Cornish Pasty ศิลปินจู่โจมเข้าท้าทายการรับรู้ของผู้คน สร้างความสงสัยว่าอาหารเหล่านั้นจะมีขายในร้านขายยาด้วยหรือเปล่า
การดัดแปลงง่ายๆ นี้เปิดสู่คำถามหลายหลากเกี่ยวกับธรรมชาติของความเชื่อมั่นในองค์กรใหญ่ๆ และความศรัทธาอย่างไม่ลืมหูลืมตาในยาที่จะช่วยบรรเทารักษาความเจ็บปวดทางร่างกายของคนเราได้ของผู้คนในสังคมปัจจุบัน
ทั้งศรัทธาและความเชื่อในศาสนาต่างถูกปลุกขึ้นโดยการจัดสรรทางโครงสร้างทางความคิดอย่างลงตัวในผลงาน The Last Supper ของ Damien Hirst 13 ภาพพิมพ์นำเสนอ 13 ผู้ร่วมโต๊ะอาหาร ชื่อเรื่องนั้นได้แนะนำถึงโภชนาการเพื่อร่างกายและจิตใจ ควบคู่ไปกับการย่อยสลายและความตาย ซึ่งเป็นสาระหลักในงานของ Hirst และนี่คือ 13 ภาพพิมพ์ร่วมสมัยซึ่งแสดงแนวคิดแหวกจากธรรมเนียมที่ผู้คนยึดถือโดยนำมาเล่นกับการผลิตสินค้าและโลกแห่ง การค้าในยุคนี้
Damien Hirst
Damien Hirst เกิดเมื่อปี 1965 ในเมืองบริสตอล สหราชอาณาจักร เขาได้รับปริญญาด้านศิลปะจาก Goldsmith's College มหาวิทยาลัยลอนดอน ในปี 1989 เขาให้เหตุึผลในการเลือกเรียนสาขานี้ว่า มันไม่จำกัดเฉพาะการวาดภาพ หรือประติกรรมกรรมเท่านั้น แต่มันเกี่ยวกับศิลปะหลากหลายซึ่งตรงตามที่เขาต้องการ
Damien Hirst คว้ารางวัลคุณภาพอย่าง Turner Prize ประจำปี 1995 เขาเป็นศิลปินรุ่นใหม่ที่เขย่าวงการศิลปะให้ฮือฮาทุกครั้งที่เขานำผลงานออกแสดง และยังเป็นศิลปินที่สะท้อนสังคมในยุคของเขา ในขณะที่เขาดูเหมือนจะเป็นพวกหัวรุนแรงในทัศนะของหลายต่อหลายคน แต่ในโลกของศิลปะเขากลับเป็นส่วนหนึ่งของสถาบัน เขามักจะทำงานกับสิ่งที่มีอยู่แล้ว สิ่งที่ทำให้ช็อค และเสียดสี เพื่อที่จะนำเสนอแง่คิด และกระตุ้นให้เกิดการวิพากษ์วิจารณ์ไปในด้านต่างๆ ซึ่งเป็นการค้นหาขอบเขตใหม่ๆให้ข้ามไป ซึ่งเป็นการตอกย้ำแก่แฟนๆ ของเขาถึงความเป็นพวกหัวรุนแรง และที่มีความสำคัญไม่ยิ่งหย่อนไปกว่ากันก็คือการตอกย้ำถึงความแตกต่างทางสังคมระหว่าง ผู้รู้และพวกไม่รู้ Damien Hirst และเป็นศิลปินที่ได้รับการกล่าวขวัญถึงทั่วอังกฤษและยุโรปโดยเฉพาะในหมู่คนรุ่นใหม่
ผลงานของเขาได้จัดแสดงในหลายนิทรรศการรวมศิลปิน อาทิYoung British Artists (Saatchi Gallery, 1992) Sensation (Royal Academy of Arts, 1997) และนิทรรศการแสดงผลงานเดี่ยวของเขา ได้แก่ Theories, Models, Methods, Approaches, Assumptions, Results and Findings ที่ Gagosian Gallery ในนิวยอร์ก เมื่อปี 2000 Damien Hirst เป็นศิลปินที่ได้รับการกล่าวขวัญถึงทั่วอังกฤษและยุโรปโดยเฉพาะในหมู่คนรุ่นใหม่
Electric Earth: Film and Video from Britain
ผลงานโดย Adam Chodzko, Volker Eichelmann & Roland Rust, Folk Archive, Luke Fowler, Rob Kennedy, Torsten Lauschmann, Mark Leckey, Hilary Lloyd, Oliver Payne & Nick Relph, Paul Rooney, Stephen Sutcliffe, Szuper Gallery, Wolfgang Tillmans, Mark Titchner และ Carey Young
7 สิงหาคม – 2 กันยายน ณ หอศิลปวิทยนิทรรศน์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Electric Earth เป็นนิทรรศการแสดงผลงานในรูปแบบวีดีทัศน์
ว่าด้วยวิถีการดำเนินชีวิตและความคิดความเชื่อที่แตกต่างของแต่ละคน
ผลงานของหลากหลายศิลปินหลากหลายแนวคิดได้หยิบยกเอาหลายสิ่งที่ถูกมองข้ามในสังคมที่มีผลต่อการตัดสินใจโครงสร้างสังคมได้ ศิลปินวางตนในฐานะ ‘ผู้กำกับ’ หรือ ‘ผู้อำนวยความสะดวก’ พยายามที่จะกระตุ้นให้ผู้คนไต่ถามถึงการมีส่วนร่วม โดยได้ค้นหาแนวทางที่เหมาะสมและล้มล้างพื้นฐานของอำนาจในเรื่องที่นำเสนออย่างเรียบง่าย ด้วยวิธีดังกล่าวนี้ ศิลปินใน Electric Earth ก้าวไปถึงเรื่องการขยายขอบเขตความเข้าใจระบบและรหัสทางสังคม โดยจัดวางตำแหน่งความคาดหวังของผู้ชมเสียใหม่
เรื่องราวที่ติดตามมาของนิทรรศการวิดีทัศน์ในกล่องดำที่ได้รับความนิยมนี้ Electric Earth ได้ก่อให้เกิดการถกเถียงในเรื่องการพัฒนาการเล่าเรื่องกระแสหลักและความเหมาะสมในการออกอากาศของศิลปะทางวิดีทัศน์ ซึ่งในยุคนี้ผู้คนสามารถสร้างศิลปะทางวิดีทัศน์และตัดต่อผ่านโปรแกรมได้จากคอมพิวเตอร์ที่บ้าน การบรรจบกันของโฆษณา สารคดี ภาพยนตร์กระแสหลัก และภาพยนตร์เชิงศิลปะ ก็เพิ่มมากขึ้น ศิลปินที่สร้างงานด้านวิดีทัศน์ทุกวันนี้กำลังหันเหงานงดงามน่าชื่นชมแนวแกเลอรี่สู่การประยุกต์งศิลปะเข้ากับโครงสร้างทางสังคมและโฆษณา
Electric Earth จัดฉายบนจอสไตล์โรงภาพยนตร์ขนาดใหญ่ 3 จอและ 2 จอมอนิเตอร์ขนาดย่อม เพื่อพาคุณเดินทางเยี่่ยมชมโลกแห่งการค้า แฟชั่น วัยรุ่น ชีวิตใต้แสงไฟและเสียงดนตรียามค่ำคืน การฟื้นฟูสภาพจิตใจ ศรัทธาแห่งศาสนา ไร้ความหวังกับการงาน การเชื่อมโยงของข้อมูลข่าวสารของชีวิตในศตวรรษที่ 21
10MS-1 Exhibition
โดย Doglas Gordon
7 สิงหาคม – 2 กันยายน
ณ หอศิลปวิทยนิทรรศน์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Douglas Gordon ศิลปินที่ได้รับรางวัลจากเวที Turner Prize ประจำปี 1996
มีพรสวรรค์ในการสร้างงานศิลป์ผ่านสื่อแขนงต่างๆ รวมทั้งภาพถ่ายและงานประติมากรรม ตลอดจนงานเขียนหลากหลายแนว
1ms-10 เป็นการฉายภาพวิดีทัศน์บนจอขนาดใหญ่ footageภาพจากวีดิทัศน์คือ ส่วนที่ยกมาของภาพยนตร์ด้านการแพทย์ในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 1 ที่บันทึกภาพความพยายามของผู้ชายคนหนึ่งที่ได้รับบาดเจ็บทางจิตใจและพยายามที่จะลุกขึ้นยืนใหม่อีกครั้ง ในฉากแรกจะเห็นชายคนนี้ยืนอยู่หลังจอและค่อยๆ ล้มลงบนพื้น ทั้งเนื้อทั้งตัวเขาสวมใส่เพียงกางเกงใน ดูจากภายนอกเขาน่าจะมีร่างกายและกล้ามเนื้อที่แข็งแรงน่าจะพยุงตนเองให้ลุกขึ้นยืนได้ เขาพยายามครั้งแล้วครั้งเล่าที่จะยกตัวเองให้ลุกขึ้นจากพื้น แต่แล้วก็ล้มเหลวไม่เป็นท่า สภาพทางร่างกายที่ดูสมบูรณ์แข็งแรงของเขากลับไร้ความสามารถที่จะทำสิ่งง่ายๆ อย่างการยืนด้วยเท้าของเขาเองกลายเป็นเรื่องน่าสะเทือนใจมากขึ้น Gordon ดึงภาพให้ช้าลงและต่อเข้าเป็นวงจรที่ไม่มีที่สิ้นสุด กักขังชายผู้บอบช้ำให้ถูกฉายซ้ำความล้มเหลวแห่งความพยายามกับการต่อสู้กับร่างกายของตนเองซ้ำไปซ้ำมา
ช่วงกลางทศวรรษ 1990 Gordon ได้สร้างสรรค์ผลงานที่เกี่ยวกับการฉายภาพซึ่งเขาได้จัดการปรับเปลี่ยนและนำเสนอบนจอภาพขนาดใหญ่ ผลงานที่เป็นที่กล่าวขวัญถึงมากที่สุดก็คือ การที่เขานำภาพยนตร์เรื่อง Psycho ของราชาภาพยนตร์สยองขวัญ อัลเฟรด ฮิทช์คอก มายืดให้ยาวนานถึง 24 ชั่วโมง หรือที่รู้จักกันในชื่อผลงานว่า 24 Hour Psycho (1993) เขาสร้างงานหลายชิ้นที่นำมาจากภาพยนตร์ทางการแพทย์ซึ่งถ่ายทำการทำงานที่ผิดปกติของจิตใจ Hysterical (1994-5) เป็นส่วนหนึ่งของภาพยนตร์สาธิตทางการแพทย์ในปี 1908 ที่นำเอาเทคนิคจากการรักษาโรคฮิสทีเรียในผู้หญิง ภาพจาก 10ms-1 ซึ่งบันทึกเรื่องราวของอาการที่เกิดขึ้นจริงจากความชอกช้ำจากสงคราม หรือที่รู้จักกันว่า 'shell shock' บันทึกการแสดงให้เห็นอย่างเด่นชัดของสิ่งที่ต่อมารู้จักกันในนามโรคฮิสทีเรียใน ผลงานของ Gordon ได้ล้วงลึกถึงกลไกการรับรู้ทั้งทางร่่างกายและจิตใจ งานหลายชิ้นของเขาได้รับการผลิตขึ้นจากการนำภาพยนตร์มาแยกส่วนผ่านการลดความเร็วและการฉายภาพบนจอขนาดใหญ่ บางครั้งก็มากกว่าหนึ่งจอ เพื่อที่จะดึงดูดความสนใจของผู้ชมให้อยู่กับรายละเอียดที่เคยถูกมองข้าม
เทคนิคเหล่านี้ท้าทายการประกอบสร้างความหมายผ่านความจำและความสัมพันธ์ของผู้ชมทั้งทางร่างกายและจิตใจด้วยภาพเคลื่อนไหว Gordon กล่าวว่าเขา ‘สนใจในพื้นที่ที่ีการรับรู้ล่มสลาย หรือความจริงที่ว่าแท้จริงแล้วเราไม่รู้ว่ามันทำงานอย่างไรหรือเหตุใดมันถึงผิดปกติ'
ด้วยเทคนิคการดึงภาพให้เดินช้าลง เขามุ่งหวังที่จะเปิดเผย ‘มุมมองแห่งประสบการณ์ที่ติดตัวเราไปด้วยทุนหนทุกแห่งแต่เราอาจไม่ตระหนักว่ามันมีผลต่อการขัดเกลาการรับรู้ของเรา’
Douglas Gordon
ดักกลาส กอร์ดอนเป็นหนึ่งในศิลปินที่มีความสำคัญในยุคของเขา เขาได้รับรางวัลอันทรงเกียรติทางด้านศิลปะนั่นคือ “เทอร์เนอร์ไพรซ์” ในปี 1996 งานของกอร์ดอนใช้สื่อที่หลากหลายมาก ทั้งงานภาพถ่าย ประติมากรรม งานเขียน และอื่นๆอีกมากมาย ถึงกระนั้นวิธีการที่เป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัวในการจัดการกับภาพในงานจัดวางของเขา
กอร์ดอนเกิดที่กลาสโกว์ และเข้าศึกษาที่ โรงเรียนศิลปะในกลาสโกว์ ระหว่างปี ค.ศ. 1984-88 และมาศึกษาต่อที่ สเลด (Slade School of Art) แห่งมหาวิทยาลัยลอนดอนระหว่างปี 1988-1996 และยังได้รับทุนให้ไปศึกษาต่อและทำงานในอีกหลายประเทศ อาทิ เยอรมันนี อิตาลี นิวยอร์ค
Dialogue
1-30 สิงหาคม ณ หอศิลปมหาวิทยาลัยกรุงเทพ
ในเดือนมิถุนายนนี้ 3 ศิลปินจากอังกฤษ Andrew Stahl Eric Bainbridge และ Nathaniel Rackowe จะเดินทางมาสานสัมพันธ์ด้านงานศิลปะร่วมกับ 3 ศิลปินไทย อาจารย์สรรเสริญ มิลินทสูต อาจารย์นิพันธ์ โอฬารนิเวศน์ และสถิตย์ ศัสตรศาสตร์ เป็นระยะเวลา 6 สัปดาห์ เพื่อสรรค์สร้างภาพวาด งานปั้น ผสมผสานกับสื่อและวิธีการนำเสนอ ชิ้นงานจากการรวมพลังสร้างสรรค์เหล่านี้ผลิตขึ้นเป็นพิเศษเพื่อ Monologue/Dialogue โดยเฉพาะ
Andrew Stahl มีผลงานนิทรรศการแสดงอย่างกว้างขวางในประเทศอังกฤษ และต่างประเทศ ตั้งแต่ปี 1990 เขาได้รับรางวัลมากมาย และทุนในการมาทำงานในประเทศต่างๆ รวมทั้งมหาวิทยาลัยศิลปากร ในประเทศไทย Arts Council, British Council รวมทั้ง Museum of Art New York ต่างก็รวบรวมผลงานของเขาไว้ในงานสะสม
เร็วๆนี้ ผลงานของเขาก็ได้ออกนำแสดงใน ลอนดอน เยอรมันนี ไอร์แลนด์เหนือ และในประเทศไทย ซึ่งมีทั้งผลงานแสดงเดี่ยว และแสดงร่วมกับศิลปินชื่อดังของไทย ปัญญา วิจินธนสาร
จบการศึกษาจาก Slade School of Fine Art กรุงลอนดอน นิทรรศการผลงานเดี่ยวครั้งแรกของเขาจัดขึ้นที่ AIR Gallery กรุงลอนดอน เมื่อปี 1981 เขายังเป็นอาจารย์ที่ Chelsea School of Art และหัวหน้าแผนก Head of Undergraduate Painting ที่ Slade School นอกจากนี้ เขาเคยจัดแสดงผลงานในเมืองไทยที่กรุงเทพฯ และเชียงใหม่ มาแล้ว
การที่จะจัดประเภทงานของแอนดรูว์นั้นไม่ใช่เรื่องง่าย ภาพเขียนของเขาดูเหมือนจะดูสงบนิ่งๆ แต่ถ้ามองลึกลงไปมันมีความสับสนวุ่นวายและตึงเครียดแอบซ่อนอยู่ ซึ่งเป็นความขัดแย้งที่กลมกลืน การที่เขามักจะมีภาพของวัตถุบางอย่างที่นำมาใช้ซ้ำๆ ในผลงานของเขาซึ่งมันได้กลายเป็นสัญลักษณ์ไปอย่างช่วยไม่ได้ ซึ่งสัญลักษณ์เหล่านี้จะไม่ได้รับการปรุงแต่ง แต่จะเป็นแค่ภาพนิ่งเท่านั้น เอกลักษณ์ของงานของเขาเกิดจากการใช้สเกลที่คาดไม่ถึงของสิ่งของที่แตกต่างกันทำให้ไม่มีความสัมพันธ์ทางสัดส่วนของสิ่งของต่างๆ และมักจะลอยอยู่บนความเรียบแบน ทำให้ดูประหนึ่งล่องลอยอยู่ในบรรยากาศ
Eric Bainbridge เป็นเฟลโลของ Henry Moore Foundation ระหว่างปี 1989-91 และได้รับรางวัลจาก Paul Hamlyn Foundation ด้านงานประติมากรรมเมื่อปี 1996 เป็นอาจารย์สอนประติมากรรมที่ Royal College of Art ระหว่างปี 1991-2000 และปัจจุบันดำรงตำแหน่งศาตราจารย์ทางด้านทัศนศิลป์อยู่ที่มหาวิทยาลัย Sunderland
ชื่อเสียงของเขาเริ่มเป็นที่รู้จักในแวดวงศิลปะตั้งแต่ปี 1980 งานของเขาได้จัดแสดงแย่างกว้างขวางทั้งในยุโรปและอเมริกา อาทิ Walker Art Centre, ICA ที่ Boston และ Salvatore Ala Gallery นิวยอร์ก (1988) Stedelijk Museum ในอัมสเตอร์ดัม Venice Biennale ในปี 1986 และ Riverside Studios and Delfina ในลอนดอน
นิทรรศการที่เพิ่งผ่านมาเมื่อเร็วๆนี้ จัดแสดงที่ Zoo and Pulse Art Fairs กับ Workplace ใน Gateshead “Collage” ที่ Bloomberg ในลอนดอน Salvatore & Caroline Ala ในมิลาน และนิทรรศการออกแสดงทั่วอังกฤษ “Size Matters” “Glad things don’t talk” ที่ Irish Museum of Modern Art ณ กรุงดับลิน และผลงานล่าสุดของเขากำลังจัดแสดงอยู่ที่ Royal Academy of Arts ในกรุงลอนดอน
งานของเขามักจะเล่นกับขนาดและสถานภาพของวัตถุ และใช้วัสดุที่ร่วมสมัย โดยใช้เทคนิคและรูปแบบที่มักคาดไม่ถึงและมีอารมณ์ขัน
Nathaniel Rackowe จบการศึกษาด้านทัศนศิลป์จาก Sheffield และ Slade School แห่งมหาวิทยาลัยลอนดอน เขารังสรรค์งานประติมากรรมเคลื่อนไหวซึ่งส่งผลอย่างมากทั้งทางแนวคิดและการรับรู้ของผู้ชม ในปี 2002 ผลงานร่วมสมัยของเขาได้รับเลือกใน Liverpool Biennial ต่อมาได้จัดแสดงที่ Barbican กรุงลอนดอน เขาได้รับการติดต่อให้สร้างผลงานปฏิมากรรมเพื่อตั้งแสดงเป็นงานถาวร ที่ Victoria ในกรุงลอนดอน 2005 และให้สร้างงานปฏิมากรรมที่ทำจากหลอดไฟเพื่อติดตั้งที่ The Forest of Dean Sculpture Trail ในปี 2006 และนิทรรศการที่จะมีขึ้นในอนาคตอันใกล้นี้ที่ Museum of Contemporary Art ในไมอามี่ ในเดือนธันวาคม ปีนี้ และจะมีผลงานเดี่ยวที่ Gallerie Almine ในกรุงปารีส ในเดือนมีนาคม 2007
Rana Begum
เป็นศิลปินสื่อผสมอยู่ในลอนดอน เธอเป็นชาวบังคลาเทศ งานของเธอเกิดจากการการผสมผสานระหว่างการเป็นศิลปินผู้หญิงที่ได้รับการเลี้ยงดูมาแบบมุสลิม และมามีประสบการณ์กับวัฒนธรรมตะวันตก เธอได้นำวัฒนธรรมตะวันตกตะวันออกมาสอดประสานไว้ในงานของเธอ ดังนั้นงานของเธอจึงมีกลิ่นอายของงานศิลปะและสถาปัตยกรรมของอิสลาม ไม่ใช่เพียงแต่เฉพาะสีและรูปแบบเท่านั้น แต่หลอมรวมเอาจิตวิญญาณและสัญลักษณ์เข้าไว้ด้วย โดยใช้วัสดุที่ผิดแผกไป เช่น ไวนิล และเทปไฟฟ้า เธอจะค่อยจัดวางงานไม่ว่าจะเป็นแนวตรงหรือขวางอย่างประณีตบรรจง ในรูปแบบทรงเรขาคณิต และเคลือบงานด้วยเรซินบางๆ
หลังจากจบการศึกษาจาก Slade School แห่งมหาวิทยาลัยลอนดอน รานา บีกัมได้แสดงผลงานของเธอที่ Purdy Hicks and Rifflemaker ในลอนดอน Dahi Gallery ในสวิสเซอร์แลนด์ และ Haines Gallery ในซานฟรานซิสโก เธอยังได้รับการว่าจ้างให้สร้างผลงานเพื่อตั้งแสดงที่ โรงพยาบาล Lewisham และโรงพยาบาล Coventry โดยทำงานร่วมกับ Tess Jaray
www.ranabegum.com
สถิตย์ ศัสตรศาสตร์
เกิดที่ชลบุรี จบจากคณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เมื่อปี 2003 ผลงาน เขามีผลงานศิลปะโดยใช้สื่อวีดิทัศน์ ซึ่งรวมถึงงานจัดวาง และภาพยนตร์ทดลอง โดยเริ่มแสดงงานครั้งแรกในปี 2000 และมีผลงานแสดงมาอย่างต่อเนื่องทั้งในและต่างประเทศ อาทิ Bangkok International Film Festival, Bangkok Experimental Film Festival, Tirana International Film Festival Jeonju International Film Festival 2006 ผลงานของเขาออกแสดงในงานนิทรรศการกลุ่ม ที่ หอศิลปวิทยนิทรรศน์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และงานแสดงเดี่ยว ในปี 2005 ณ หอศิลปะมหาวิทยาลัยกรุงเทพ ภายใต้โครงการ Brand New
Wednesday, July 26, 2006
TREMBLING BLUE STARS
--วันอาทิตย์นี้ก็อยากไปดูเหมือนกันค่ะ แต่พอดีชนกับโปรแกรมหนังที่ห้องสมุดมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ก็เลยอาจจะไปดูหนังที่ธรรมศาสตร์แทน อยากแยกร่างได้จังเลย จะได้ไปดูหนังทั้งสองโปรแกรม
--มีปัญหากับการดูหนังตอนเย็นเหมือนกันค่ะ ไม่รู้ว่าเป็นเพราะอะไร ดิฉันมักจะง่วงนอนอย่างรุนแรงตอนประมาณ 16.00 น.ของทุกวัน เพราะฉะนั้นหนังเรื่องใดก็ตามที่ดูในรอบนั้นก็มักจะมีการวูบหลับไปบ้าง ส่งผลให้บางเรื่องต้องกลับมาดูซ้ำรอบสอง
ตอนหลังชักรู้ทันตัวเองว่าต้องวูบหลับเวลา 16.00 น. ก็เลยแก้ปัญหาด้วยการซดกาแฟก่อนจะเข้าดูหนังที่ฉายในช่วงเวลานั้น ก็เลยไม่หลับอีก ช่วงนี้เริ่มติดกาแฟยี่ห้อเบอร์ดี้ เพราะรู้สึกว่ามันแรงดี ดื่มแล้วไม่ค่อยหลับเวลาดูหนัง
ช่วงนี้กะว่าจะพยายามไม่ดูหนังในวันธรรมดา จะดูเฉพาะวันเสาร์อาทิตย์เท่านั้น ยกเว้นช่วงที่มีเทศกาลหนัง แต่ไม่รู้ว่าจะทำได้ตามที่ตั้งใจไว้หรือเปล่า
ข้อความข้างล่างนี้ก้อปปี้มาจาก Screenout webboard
http://xq28.net/s/viewtopic.php?t=3437&start=3450
--ดีใจมากค่ะที่คุณอ้วนเกิดอารมณ์อย่างรุนแรงกับตัวละครที่แสดงโดย ELIZABETH MITCHELL ใน RUNNING SCARED ดิฉันเองก็รู้สึกอย่างนั้นเหมือนกัน รู้สึกว่าเธอเล่นได้ชั่วร้ายมากๆ หน้าตาของเธอมันช่างเส่ยหยั่นจริงๆ
ลองเช็คประวัติของ ELIZABETH MITCHELL (1970) ดูแล้ว พบว่าเคยดูหนังที่เธอเล่นถึง 4 เรื่อง แต่แทบไม่เคยสะดุดตาเธอมาก่อนเลย เพิ่งมาเรื่อง RUNNING SCARED นี่แหละ ที่เธอได้เปล่งประกายเจิดจรัสอย่างเต็มที่
หนังของ ELIZABETH MITCHELL ที่เคยดู
1.FREQUENCY (2000, GREGORY HOBLIT, A/A-)
2.NURSE BETTY (2000, NEIL LABUTE, A-)
3.GIA (1998, MICHAEL CRISTOFER, A-) ในเรื่องนี้เธอรับบทเป็นลินดา แมคคาร์ทนีย์
4.MAN AND BOY (2002, SIMON CURTIS, B-)
http://images.amazon.com/images/P/B00008V6YZ.02._SS500_SCLZZZZZZZ_V1075487843_.jpg
--FAVORITE MUSIC VIDEO
HELEN REDDY – TREMBLING BLUE STARS
http://www.youtube.com/watch?v=raE70KKY_vM&search=trembling%20blue%20stars
เพลงนี้อยู่ในอัลบัมชุด THE SEVEN AUTUMN FLOWERS (2004)
http://www.amazon.com/gp/product/B0002XEDSA/sr=8-2/qid=1153923142/ref=sr_1_2/102-6894005-8025706?ie=UTF8
http://ec1.images-amazon.com/images/P/B0002XEDSA.01._SS500_SCLZZZZZZZ_V1116090160_.jpg
อัลบัมชุด THE SEVEN AUTUMN FLOWERS นี้ได้ IAN CATT จากวง SAINT ETIENNE มาร่วมงานด้วย
สมาชิกคนสำคัญของวง TREMBLING BLUE STARS คือ BOBBY WRATTEN ซึ่งเคยเป็นสมาชิกวง NORTHERN PICTURE LIBRARY และ FIELD MICE
คุณเก้าอี้มีพนักแห่งเว็บบอร์ดไบโอสโคป เคยเอาอัลบัมของ FIELD MICE มาให้ดิฉันฟัง ดิฉันชอบสุดๆในระดับ A+++++ เลยค่ะ
ชื่อวง TREMBLING BLUE STARS นี้มาจากประโยคในนิยายแนวซาดิสท์/มาโซคิสท์เรื่อง THE STORY OF O ที่แต่งโดย PAULINE REAGE นิยายเรื่องนี้เคยได้รับการดัดแปลงสร้างเป็นหนังมาแล้วหลายครั้งด้วยกัน ซึ่งรวมถึง
1.FRUITS OF PASSION (1981, SHUJI TERAYAMA, A+)
2.MENTHE – LA BIENHEUREUSE (1971, LARS VON TRIER)
3.THE STORY OF O (1975, JUST JAECKIN)
http://images.amazon.com/images/P/B000065RSW.01._SS500_SCLZZZZZZZ_V1057227875_.jpg
นำแสดงโดย UDO KIER เจ้าพ่อหนังเฮี้ยน ถ้ามีเวลาว่างอยากจะเช็คดูเหมือนกันว่า UDO KIER เคยรับบทเป็นคนธรรมดาบ้างมั้ยในชีวิตนี้
ส่วนผู้ที่สนใจประวัติของ PAULINE REAGE นั้นสามารถหาดูได้จากภาพยนตร์สารคดีเรื่อง THE WRITER OF O (2004, POLA RAPAPORT) ค่ะ
http://images.amazon.com/images/P/B000EZ90AW.01._SS500_SCLZZZZZZZ_V56259729_.jpg
--มีปัญหากับการดูหนังตอนเย็นเหมือนกันค่ะ ไม่รู้ว่าเป็นเพราะอะไร ดิฉันมักจะง่วงนอนอย่างรุนแรงตอนประมาณ 16.00 น.ของทุกวัน เพราะฉะนั้นหนังเรื่องใดก็ตามที่ดูในรอบนั้นก็มักจะมีการวูบหลับไปบ้าง ส่งผลให้บางเรื่องต้องกลับมาดูซ้ำรอบสอง
ตอนหลังชักรู้ทันตัวเองว่าต้องวูบหลับเวลา 16.00 น. ก็เลยแก้ปัญหาด้วยการซดกาแฟก่อนจะเข้าดูหนังที่ฉายในช่วงเวลานั้น ก็เลยไม่หลับอีก ช่วงนี้เริ่มติดกาแฟยี่ห้อเบอร์ดี้ เพราะรู้สึกว่ามันแรงดี ดื่มแล้วไม่ค่อยหลับเวลาดูหนัง
ช่วงนี้กะว่าจะพยายามไม่ดูหนังในวันธรรมดา จะดูเฉพาะวันเสาร์อาทิตย์เท่านั้น ยกเว้นช่วงที่มีเทศกาลหนัง แต่ไม่รู้ว่าจะทำได้ตามที่ตั้งใจไว้หรือเปล่า
ข้อความข้างล่างนี้ก้อปปี้มาจาก Screenout webboard
http://xq28.net/s/viewtopic.php?t=3437&start=3450
--ดีใจมากค่ะที่คุณอ้วนเกิดอารมณ์อย่างรุนแรงกับตัวละครที่แสดงโดย ELIZABETH MITCHELL ใน RUNNING SCARED ดิฉันเองก็รู้สึกอย่างนั้นเหมือนกัน รู้สึกว่าเธอเล่นได้ชั่วร้ายมากๆ หน้าตาของเธอมันช่างเส่ยหยั่นจริงๆ
ลองเช็คประวัติของ ELIZABETH MITCHELL (1970) ดูแล้ว พบว่าเคยดูหนังที่เธอเล่นถึง 4 เรื่อง แต่แทบไม่เคยสะดุดตาเธอมาก่อนเลย เพิ่งมาเรื่อง RUNNING SCARED นี่แหละ ที่เธอได้เปล่งประกายเจิดจรัสอย่างเต็มที่
หนังของ ELIZABETH MITCHELL ที่เคยดู
1.FREQUENCY (2000, GREGORY HOBLIT, A/A-)
2.NURSE BETTY (2000, NEIL LABUTE, A-)
3.GIA (1998, MICHAEL CRISTOFER, A-) ในเรื่องนี้เธอรับบทเป็นลินดา แมคคาร์ทนีย์
4.MAN AND BOY (2002, SIMON CURTIS, B-)
http://images.amazon.com/images/P/B00008V6YZ.02._SS500_SCLZZZZZZZ_V1075487843_.jpg
--FAVORITE MUSIC VIDEO
HELEN REDDY – TREMBLING BLUE STARS
http://www.youtube.com/watch?v=raE70KKY_vM&search=trembling%20blue%20stars
เพลงนี้อยู่ในอัลบัมชุด THE SEVEN AUTUMN FLOWERS (2004)
http://www.amazon.com/gp/product/B0002XEDSA/sr=8-2/qid=1153923142/ref=sr_1_2/102-6894005-8025706?ie=UTF8
http://ec1.images-amazon.com/images/P/B0002XEDSA.01._SS500_SCLZZZZZZZ_V1116090160_.jpg
อัลบัมชุด THE SEVEN AUTUMN FLOWERS นี้ได้ IAN CATT จากวง SAINT ETIENNE มาร่วมงานด้วย
สมาชิกคนสำคัญของวง TREMBLING BLUE STARS คือ BOBBY WRATTEN ซึ่งเคยเป็นสมาชิกวง NORTHERN PICTURE LIBRARY และ FIELD MICE
คุณเก้าอี้มีพนักแห่งเว็บบอร์ดไบโอสโคป เคยเอาอัลบัมของ FIELD MICE มาให้ดิฉันฟัง ดิฉันชอบสุดๆในระดับ A+++++ เลยค่ะ
ชื่อวง TREMBLING BLUE STARS นี้มาจากประโยคในนิยายแนวซาดิสท์/มาโซคิสท์เรื่อง THE STORY OF O ที่แต่งโดย PAULINE REAGE นิยายเรื่องนี้เคยได้รับการดัดแปลงสร้างเป็นหนังมาแล้วหลายครั้งด้วยกัน ซึ่งรวมถึง
1.FRUITS OF PASSION (1981, SHUJI TERAYAMA, A+)
2.MENTHE – LA BIENHEUREUSE (1971, LARS VON TRIER)
3.THE STORY OF O (1975, JUST JAECKIN)
http://images.amazon.com/images/P/B000065RSW.01._SS500_SCLZZZZZZZ_V1057227875_.jpg
นำแสดงโดย UDO KIER เจ้าพ่อหนังเฮี้ยน ถ้ามีเวลาว่างอยากจะเช็คดูเหมือนกันว่า UDO KIER เคยรับบทเป็นคนธรรมดาบ้างมั้ยในชีวิตนี้
ส่วนผู้ที่สนใจประวัติของ PAULINE REAGE นั้นสามารถหาดูได้จากภาพยนตร์สารคดีเรื่อง THE WRITER OF O (2004, POLA RAPAPORT) ค่ะ
http://images.amazon.com/images/P/B000EZ90AW.01._SS500_SCLZZZZZZZ_V56259729_.jpg
Tuesday, July 25, 2006
WON'T GO TO RANGSIT (CHAKORN CHAIPREECHA, A+)
แวะมาตอบสั้นๆก่อนนะจ๊ะ
--ชอบ “ไม่ไปรังสิต” มากจ้ะ เป็นหนังที่น่ารักมากๆ ทั้งตัวหนัง และนักแสดงชายหญิง
สิ่งที่ชอบใน “ไม่ไปรังสิต”
1.ชอบโครงสร้างของหนัง ที่มีทั้ง
1.1 mockumentary หรือสารคดีตอแหล
1.2 ส่วนที่เป็น fiction แต่ส่วนนี้ก็ทำออกมาได้ดูสมจริงและเป็นธรรมชาติดี
2.คัดเลือกนักแสดงชายหญิงมาได้น่ารักมาก
3.นักแสดงทุกคนเล่นได้เหมาะกับหนังมากๆ
4.หนังเรื่องนี้อาจจะไม่ใช่หนัง REALISTIC แต่กลับรู้สึกว่าหนังเรื่องนี้ดูเป็นธรรมชาติมากกว่าหนังสั้นแนวโรแมนติกหลายๆเรื่อง ดูแล้วรู้สึกเหมือนกับว่าหลายๆฉากในหนังมันดูจริง และมันดูสดมาก ในขณะที่หนังสั้นโรแมนติกแนวชีวิตรักนักศึกษาอีกหลายสิบเรื่องดูแล้วให้อารมณ์แข็งๆกว่าหนังเรื่องนี้เยอะ หนังสั้นชีวิตรักนักศึกษาเรื่องอื่นๆดูแต่ละฉากแล้วรู้สึกว่ามันเกิดจากการเซ็ตฉากมาอย่างดี เกิดจากการเขียนบทเอาไว้ล่วงหน้า แต่ “ไม่ไปรังสิต” มันดูลื่นไหล มันไม่ดูเหมือนถูก “เซ็ต” เอาไว้แบบตายด้านเหมือนหนังสั้นเรื่องอื่นๆ
--เท่าที่ดูหนังไทยในเดือนนี้มา พบว่าหนังที่ตัวเองชอบมากแบ่งออกได้เป็นหลายกลุ่ม เช่น
1.หนังแนวสารคดีตอแหล อย่างเช่น
1.1 ไม่ไปรังสิต
1.2 เ ท้า (สุวินิต ปัญจมะวัต, A+)
2.หนังที่ดูแล้วดิฉันไม่แน่ใจว่าเป็นเรื่องจริงหรือเรื่องแต่ง หรือมีผสมกันอยู่ในสัดส่วนกี่เปอร์เซ็นต์
2.1 ออกตะวันตกตะวัน (วิศรา วิจิตรวาทการ, A++++++++++)
2.2 สามัญชน (MANUSSA VORASINGHA, A+)
2.3 SO FAR AWAY (สฤษดิ์รงค์ หยงสตาร์, A+)
2.4 I I AND US (2006, ฤญช์ นามะสนธิ + เศรษฐพงษ์ คำสิน, A+)
2.5 THE THIRD HAND (สรรเพชญ สิขเรศ, A+)
2.6 SOMETHING (2006, ธรณินทร์ สะภูมี, A-)
2.7 สงกรานต์ (วิชาติ สมแก้ว, A-)
3.หนังสารคดี
3.1 ผม ตัวผม และไดอารี่ของผม (2006, อรรณพ สงวนชาติ, A+)
3.2 โรงหนังชั้นสอง (นรชาย กัจฉปานนท์, A+)
3.3 บ้านของผม (ประกายรัตน์ ณ ศรีโต, A+)
3.4 SQUID (2006, อำนาจ เอี่ยมนิติกร + ยศสวิน อัมราพิทักษ์ + วีรพล ผดุงชีวิต + ธิติพล จารุบุญย์ + สุรวรรณ วรรณนิยม, A+/A)
3.5 ACCIDENT (สราวรรณ วีระวัฒน์, A)
สารคดีเรื่องนี้ติดตามบันทึกภาพหนุ่มนักศึกษาที่กำลังเล่นบาสเกตบอล ฮ่าๆๆๆๆ
3.6 WITHOUT EATING (ศิริพงศ์ บุตรดีวงศ์, A)
3.7 ตามหาอ๊าดบ๊องส์ (วารุต ยืนนาน, A-)
4.หนังที่เป็นเรื่องแต่ง แต่มีลักษณะคล้ายสารคดี
4.1 ดาวคะนอง (วีระพงษ์ วิมุกตะลพ, A+)
4.2 ACROSS THE RIVER (2006, EWAN I.W. CHUNG, A)
--ตอนนี้รู้สึกกลัวมากๆว่าตัวเองจะเป็นโรคอัลไซเมอร์ เพราะจนถึงป่านนี้ก็ยังนึกไม่ออกว่าหนังเรื่อง “วันสุดท้าย” มีเนื้อหาเกี่ยวกับอะไร แต่ไปดูสิ่งที่ตัวเองเขียนไว้หลังดูหนังจบ พบว่าตัวเองให้หนังเรื่องนี้ได้ A+ ก็เลยยิ่งเจ็บใจมากขึ้นไปอีกที่ไม่สามารถจดจำหนังที่ตัวเองชอบสุดๆจนถึงขั้น A+ ได้ ทั้งๆที่เพิ่งดูไปเมื่อวันเสาร์ที่ผ่านมา
ตอบคุณแฟรงเกนสไตน์
--รู้สึกว่า ROLAND FREISLER ผู้พิพากษาตัวจริงที่อยู่ในหนังเรื่อง SOPHIE SCHOLL – THE FINAL DAYS จะเป็นคนที่ชั่วร้ายมากๆ สามารถอ่านรายละเอียดได้ที่นี่ค่ะ
http://members.aol.com/masksfaces/whiterose/freisler.html
ตอบน้อง pink 0700
--พูดถึง PIER PAOLO PASOLINI ก็อยู่ดีๆทำให้นึกถึง ERIC KHOO และ SHUNJI IWAI ขึ้นมาเพราะว่า
1.PIER PAOLO PASOLINI เคยกำกับหนังที่ให้ความรู้สึก “ดีงาม” มากๆอย่าง THE GOSPEL ACCORDING TO ST. MATTHEW (1964, A+) และหนังที่ให้ความรู้สึกโหดร้ายมากๆอย่าง SALO OR THE 120 DAYS OF SODOM (1975, A+) หนังสองเรื่องนี้เหมือนความสว่างที่สุดกับความดำมืดที่สุด แต่เป็นผลงานของผู้กำกับคนเดียวกัน
2.ERIC KHOO เคยกำกับหนังที่ให้ความรู้สึกดีงามมากๆอย่าง BE WITH ME (2005, A+) และหนังที่ให้ความรู้สึกโหดร้ายสุดๆอย่าง PAIN (1994, A+) หนังเรื่องนึงดูเหมือนจะเปี่ยมด้วยความเมตตากรุณาต่อเพื่อนมนุษย์อย่างที่สุด แต่หนังอีกเรื่องนึงเต็มเปี่ยมไปด้วยความโหดร้ายจากนรกขุมลึกที่สุด แต่ก็เป็นผลงานของผู้กำกับคนเดียวกันเช่นกัน
3.ส่วน SHUNJI IWAI นั้น ก็มีผลงานหนังที่ใสสุดๆอย่าง APRIL STORY (1998, A) และหนังที่ FEEL BAD มากๆอย่าง ALL ABOUT LILY CHOU-CHOU (2001, A+)
ตอบคุณ CHRIS’S GIRLFRIEND
กรี๊ด เพิ่งรู้ว่า NAPOLA คือเรื่องเดียวกับ BEFORE THE FALL อยากดูหนังเรื่องนี้มานานแล้ว ไม่นึกว่าเมืองไทยจะออกแผ่นเร็วขนาดนี้
ถ้าหากคุณ CHRIS’S GIRLFRIEND ชอบ VELVET GOLDMINE ก็ขอแนะนำให้หาวีซีดีลิขสิทธิ์หนังเรื่อง BROTHERS OF THE HEAD (2005, KEITH FULTON + LOUIS PEPE) มาดูค่ะ เพราะได้ข่าวว่าอาจจะให้อารมณ์ใกล้เคียงกัน รู้สึกว่าเดี๋ยวนี้เมืองไทยมีวีซีดีลิขสิทธิ์น่าดูเยอะมากๆๆๆ
The wildest rock movie since Hedwig and the Angry Inch, the feature debut by the makers of Lost in La Mancha enlivens an absurd premise -- conjoined twins become proto-punk rockers in mid-'70s England -- with imagination, anger and adrenaline.
ตอบน้อง zm
โชคดีแฮะ ตอนนี้เมืองไทยเป็นหน้าฝนจ้ะ อากาศไม่ค่อยร้อนเท่าไหร่ หรือเราร้อนจนชินแล้วก็ไม่รู้
แล้วร้อนๆอย่างนี้ หนุ่มๆแถวๆที่พักของน้อง zm เขามาถอดเสื้อยั่วน้ำลายน้องบ้างหรือเปล่าจ้ะ
เคยดู THE LAST PICTURE SHOW เหมือนกัน แต่จำอะไรไม่ค่อยได้มากนัก เห็นหน้า CYBILL SHEPHERD ในหนังเรื่องนี้ แล้วทำให้นึกถึง REESE WITHERSPOON ไม่รู้เหมือนกันว่าเพราะอะไร
CYBILL SHEPHERD
http://www.leninimports.com/cybill_shepherd_gallery_7.jpg
--ชอบ “ไม่ไปรังสิต” มากจ้ะ เป็นหนังที่น่ารักมากๆ ทั้งตัวหนัง และนักแสดงชายหญิง
สิ่งที่ชอบใน “ไม่ไปรังสิต”
1.ชอบโครงสร้างของหนัง ที่มีทั้ง
1.1 mockumentary หรือสารคดีตอแหล
1.2 ส่วนที่เป็น fiction แต่ส่วนนี้ก็ทำออกมาได้ดูสมจริงและเป็นธรรมชาติดี
2.คัดเลือกนักแสดงชายหญิงมาได้น่ารักมาก
3.นักแสดงทุกคนเล่นได้เหมาะกับหนังมากๆ
4.หนังเรื่องนี้อาจจะไม่ใช่หนัง REALISTIC แต่กลับรู้สึกว่าหนังเรื่องนี้ดูเป็นธรรมชาติมากกว่าหนังสั้นแนวโรแมนติกหลายๆเรื่อง ดูแล้วรู้สึกเหมือนกับว่าหลายๆฉากในหนังมันดูจริง และมันดูสดมาก ในขณะที่หนังสั้นโรแมนติกแนวชีวิตรักนักศึกษาอีกหลายสิบเรื่องดูแล้วให้อารมณ์แข็งๆกว่าหนังเรื่องนี้เยอะ หนังสั้นชีวิตรักนักศึกษาเรื่องอื่นๆดูแต่ละฉากแล้วรู้สึกว่ามันเกิดจากการเซ็ตฉากมาอย่างดี เกิดจากการเขียนบทเอาไว้ล่วงหน้า แต่ “ไม่ไปรังสิต” มันดูลื่นไหล มันไม่ดูเหมือนถูก “เซ็ต” เอาไว้แบบตายด้านเหมือนหนังสั้นเรื่องอื่นๆ
--เท่าที่ดูหนังไทยในเดือนนี้มา พบว่าหนังที่ตัวเองชอบมากแบ่งออกได้เป็นหลายกลุ่ม เช่น
1.หนังแนวสารคดีตอแหล อย่างเช่น
1.1 ไม่ไปรังสิต
1.2 เ ท้า (สุวินิต ปัญจมะวัต, A+)
2.หนังที่ดูแล้วดิฉันไม่แน่ใจว่าเป็นเรื่องจริงหรือเรื่องแต่ง หรือมีผสมกันอยู่ในสัดส่วนกี่เปอร์เซ็นต์
2.1 ออกตะวันตกตะวัน (วิศรา วิจิตรวาทการ, A++++++++++)
2.2 สามัญชน (MANUSSA VORASINGHA, A+)
2.3 SO FAR AWAY (สฤษดิ์รงค์ หยงสตาร์, A+)
2.4 I I AND US (2006, ฤญช์ นามะสนธิ + เศรษฐพงษ์ คำสิน, A+)
2.5 THE THIRD HAND (สรรเพชญ สิขเรศ, A+)
2.6 SOMETHING (2006, ธรณินทร์ สะภูมี, A-)
2.7 สงกรานต์ (วิชาติ สมแก้ว, A-)
3.หนังสารคดี
3.1 ผม ตัวผม และไดอารี่ของผม (2006, อรรณพ สงวนชาติ, A+)
3.2 โรงหนังชั้นสอง (นรชาย กัจฉปานนท์, A+)
3.3 บ้านของผม (ประกายรัตน์ ณ ศรีโต, A+)
3.4 SQUID (2006, อำนาจ เอี่ยมนิติกร + ยศสวิน อัมราพิทักษ์ + วีรพล ผดุงชีวิต + ธิติพล จารุบุญย์ + สุรวรรณ วรรณนิยม, A+/A)
3.5 ACCIDENT (สราวรรณ วีระวัฒน์, A)
สารคดีเรื่องนี้ติดตามบันทึกภาพหนุ่มนักศึกษาที่กำลังเล่นบาสเกตบอล ฮ่าๆๆๆๆ
3.6 WITHOUT EATING (ศิริพงศ์ บุตรดีวงศ์, A)
3.7 ตามหาอ๊าดบ๊องส์ (วารุต ยืนนาน, A-)
4.หนังที่เป็นเรื่องแต่ง แต่มีลักษณะคล้ายสารคดี
4.1 ดาวคะนอง (วีระพงษ์ วิมุกตะลพ, A+)
4.2 ACROSS THE RIVER (2006, EWAN I.W. CHUNG, A)
--ตอนนี้รู้สึกกลัวมากๆว่าตัวเองจะเป็นโรคอัลไซเมอร์ เพราะจนถึงป่านนี้ก็ยังนึกไม่ออกว่าหนังเรื่อง “วันสุดท้าย” มีเนื้อหาเกี่ยวกับอะไร แต่ไปดูสิ่งที่ตัวเองเขียนไว้หลังดูหนังจบ พบว่าตัวเองให้หนังเรื่องนี้ได้ A+ ก็เลยยิ่งเจ็บใจมากขึ้นไปอีกที่ไม่สามารถจดจำหนังที่ตัวเองชอบสุดๆจนถึงขั้น A+ ได้ ทั้งๆที่เพิ่งดูไปเมื่อวันเสาร์ที่ผ่านมา
ตอบคุณแฟรงเกนสไตน์
--รู้สึกว่า ROLAND FREISLER ผู้พิพากษาตัวจริงที่อยู่ในหนังเรื่อง SOPHIE SCHOLL – THE FINAL DAYS จะเป็นคนที่ชั่วร้ายมากๆ สามารถอ่านรายละเอียดได้ที่นี่ค่ะ
http://members.aol.com/masksfaces/whiterose/freisler.html
ตอบน้อง pink 0700
--พูดถึง PIER PAOLO PASOLINI ก็อยู่ดีๆทำให้นึกถึง ERIC KHOO และ SHUNJI IWAI ขึ้นมาเพราะว่า
1.PIER PAOLO PASOLINI เคยกำกับหนังที่ให้ความรู้สึก “ดีงาม” มากๆอย่าง THE GOSPEL ACCORDING TO ST. MATTHEW (1964, A+) และหนังที่ให้ความรู้สึกโหดร้ายมากๆอย่าง SALO OR THE 120 DAYS OF SODOM (1975, A+) หนังสองเรื่องนี้เหมือนความสว่างที่สุดกับความดำมืดที่สุด แต่เป็นผลงานของผู้กำกับคนเดียวกัน
2.ERIC KHOO เคยกำกับหนังที่ให้ความรู้สึกดีงามมากๆอย่าง BE WITH ME (2005, A+) และหนังที่ให้ความรู้สึกโหดร้ายสุดๆอย่าง PAIN (1994, A+) หนังเรื่องนึงดูเหมือนจะเปี่ยมด้วยความเมตตากรุณาต่อเพื่อนมนุษย์อย่างที่สุด แต่หนังอีกเรื่องนึงเต็มเปี่ยมไปด้วยความโหดร้ายจากนรกขุมลึกที่สุด แต่ก็เป็นผลงานของผู้กำกับคนเดียวกันเช่นกัน
3.ส่วน SHUNJI IWAI นั้น ก็มีผลงานหนังที่ใสสุดๆอย่าง APRIL STORY (1998, A) และหนังที่ FEEL BAD มากๆอย่าง ALL ABOUT LILY CHOU-CHOU (2001, A+)
ตอบคุณ CHRIS’S GIRLFRIEND
กรี๊ด เพิ่งรู้ว่า NAPOLA คือเรื่องเดียวกับ BEFORE THE FALL อยากดูหนังเรื่องนี้มานานแล้ว ไม่นึกว่าเมืองไทยจะออกแผ่นเร็วขนาดนี้
ถ้าหากคุณ CHRIS’S GIRLFRIEND ชอบ VELVET GOLDMINE ก็ขอแนะนำให้หาวีซีดีลิขสิทธิ์หนังเรื่อง BROTHERS OF THE HEAD (2005, KEITH FULTON + LOUIS PEPE) มาดูค่ะ เพราะได้ข่าวว่าอาจจะให้อารมณ์ใกล้เคียงกัน รู้สึกว่าเดี๋ยวนี้เมืองไทยมีวีซีดีลิขสิทธิ์น่าดูเยอะมากๆๆๆ
The wildest rock movie since Hedwig and the Angry Inch, the feature debut by the makers of Lost in La Mancha enlivens an absurd premise -- conjoined twins become proto-punk rockers in mid-'70s England -- with imagination, anger and adrenaline.
ตอบน้อง zm
โชคดีแฮะ ตอนนี้เมืองไทยเป็นหน้าฝนจ้ะ อากาศไม่ค่อยร้อนเท่าไหร่ หรือเราร้อนจนชินแล้วก็ไม่รู้
แล้วร้อนๆอย่างนี้ หนุ่มๆแถวๆที่พักของน้อง zm เขามาถอดเสื้อยั่วน้ำลายน้องบ้างหรือเปล่าจ้ะ
เคยดู THE LAST PICTURE SHOW เหมือนกัน แต่จำอะไรไม่ค่อยได้มากนัก เห็นหน้า CYBILL SHEPHERD ในหนังเรื่องนี้ แล้วทำให้นึกถึง REESE WITHERSPOON ไม่รู้เหมือนกันว่าเพราะอะไร
CYBILL SHEPHERD
http://www.leninimports.com/cybill_shepherd_gallery_7.jpg
Monday, July 24, 2006
FUN RIAM (LADDAWAL SUEBPENG, A+)
ตอบคุณเจ้าชายน้อย
คิดว่าถ้าทำลิงค์ไปเฉยๆ คงไม่ต้องขออนุญาตอะไรมั้งคะ น่าจะลิงค์ไปได้เลย เพราะดิฉันเองก็ทำลิงค์ไปที่กระทู้นั้นเลยเหมือนกัน ฮ่าๆๆ รู้สึกว่าในกระทู้นั้นคนส่วนใหญ่จะพูดจากันอย่างมีเหตุมีผลและเรียบเรียงความคิดได้อย่างน่าทึ่งมากๆ ดิฉันอ่านแล้วก็ได้แต่ชื่นชม แต่ไม่มีความสามารถที่จะคิดตอบอะไรได้ ก็เลยขอแสดงความชื่นชมด้วยการเอาลิงค์มาแปะเพื่อให้คนที่สนใจได้เข้าไปอ่านกระทู้นั้นกันเอง
ตอบน้อง merveillesxx
--ยังไม่ได้ดู TWENTYNINE PALMS เลยจ้ะ แต่ดู LIFE OF JESUS (1997, BRUNO DUMONT, A+) กับ HUMANITY (1999, BRUNO DUMONT, A+) แล้ว คิดว่าเขาเป็นหนึ่งในผู้กำกับหนังฝรั่งเศสยุคใหม่ที่น่าสนใจที่สุดคนนึงเลย
--ชอบ INFECTION ในระดับ B+ เช่นกัน จำรายละเอียดอะไรในหนังไม่ได้แล้ว จำได้แต่ว่ามีอะไรเกี่ยวกับแอปเปิลในหนังที่มันน่าติดใจดี
--ชอบบุปผาราตรีภาค 1 (A-) มากกว่าภาคสองเช่นกัน ภาคสองชอบมุกที่บุปผาออกไปเรียนหนังสือทุกวัน จำได้ว่ามีคนมาตั้งกระทู้ถามใน PANTIP ด้วยว่า บุปผาไปเรียนหนังสือที่มหาลัยไหนและเรียนวิชาอะไร
--พูดถึงกระทู้ใน PANTIP แล้ว มีอีกกระทู้นึงที่ตั้งคำถามได้ฮาดีจนจำได้ไม่ลืม นั่นก็คือกระทู้ที่ถามว่า เทพธิดาพยากรณ์ (THE ORACLE) ใน THE MATRIX กับเทพธิดาพยากรณ์ 1900 ใครเก่งกว่ากันคะ
--ไม่รู้ว่าจะได้มีเวลาดู SLOWDANCE หรือเปล่า จริงๆกะว่าจะดูอมฤตาลัย แต่ก็ไม่ได้ดูเสียที
วันนี้ขอตอบทุกคนอย่างสั้นๆก่อนแล้วกันนะคะ แล้วเดี๋ยวว่างๆจะมาตอบต่ออีกทีค่ะ
ตอบเทพธิดาพยากรณ์แฟรงเกนสไตน์
--ดีใจมากๆจ้าที่ชอบ SOPHIE SCHOLL – THE FINAL DAYS
--พูดถึงละครเวทีเกี่ยวกับผู้หญิงหัวขบถ ก็คิดว่าคุณแฟรงเกนสไตน์คงได้ข่าวแล้วเรื่องที่จะมีการแสดงละครเวที ANTIGONE ของกลุ่มพระจันทร์เสี้ยว ดูรายละเอียดได้ที่นี่ค่ะ
http://www.crescentmoontheatre.com/Home.htm
ละครจะมีแสดงวันที่ 4, 5, 6 ส.ค.ที่สถาบันปรีดี พนมยงค์ ซอยทองหล่อ กำกับการแสดงโดยสินีนาฏ เกษประไพ
ตอบน้อง PINK 0700
--โฮๆๆๆ พี่ยังไม่เคยดู ROCCO SIFFREDI เลยจ้ะ แต่บี การินนี่หน้าตาน่ารักดีนะ
--จำได้ว่า UNDISCOVERED เคยเข้าฉายที่เอ็มโพเรียม แต่ไม่มีเวลาไปดูในตอนนั้น จนถึงบัดนี้ก็เลยยังไม่ได้ดูเลย
--อุ๊ยตายแล้ว ต้องกลับไปดู THE MIRROR ใหม่อีกรอบแล้วสิเนี่ย
--หนุ่มรัสเซียที่พี่เคยชอบมากก็คือ SERGEI BODROV JR. ที่เล่นเป็นนักว่ายน้ำในเรื่อง EAST WEST (1999, REGIS WARGNIER, A) จ้ะ แต่น่าเสียดายที่เขาตายเสียแล้ว
--JOAQUIN PHOENIX ใน SIGNS น่ารักมากๆ ดูซื่อๆดี แต่หลังๆได้เห็นเขาในบทคนเจ้าเล่ห์ๆ ก็เลยลดความชอบเขาลงไป คือเขาแสดงได้เก่งมากนะ แต่เขารับบทเป็นผู้ชายที่ไม่ค่อยน่าพิสมัยเท่าไหร่ อย่างเช่นใน BUFFALO SOLDIER (B+/B) กับใน WALK THE LINE (A)
--ยังไม่ได้ดู GODS AND MONSTERS เลยจ้ะ แต่ประทับใจการเปรียบเทียบของน้องอย่างมากๆ
--วันนี้ดึกแล้ว แล้ววันหลังจะมาตอบน้องต่อนะจ๊ะ
ตอบคุณ CHRIS’S GIRLFRIEND
--รู้สึกว่าตัวเองเป็น MASOCHIST เหมือนกันจ้ะ ทั้งในทางจิตใจและในทางร่างกาย อยากให้มีผู้ชายมาทำให้เราเจ็บ (ปนเสียว) บ้างจัง
--บางทีดิฉันก็คิดว่าสาเหตุที่ดิฉันชอบดูหนังเศร้าๆเป็นเพราะดิฉันเป็นโรคขี้อิจฉา ถ้าหากดูหนังที่ HAPPY ENDING แล้วดิฉันจะรู้สึกเป็นทุกข์มากๆ เพราะรู้สึกว่าชีวิตของตัวเองสู้ตัวละครในหนังไม่ได้ แต่พอดูหนังประเภทชีวิตรันทดแล้วดิฉันจะรู้สึกว่ามีความสุขมากๆ และรู้สึกว่าชีวิตของตัวเองนี่ก็น่าจะมีความสุขมากแล้วนะถ้าหากเทียบกับตัวละครในเรื่อง
--ชอบ RATCATCHER, EXOTICA, WHERE THE TRUTH LIES, GABBEH, SHE’S THE MAN ในระดับใกล้เคียงกับน้องเหมือนกันจ้ะ ในบรรดาหนัง 5 เรื่องนี้ ชอบ EXOTICA มากที่สุดจ้ะ
ความรู้สึกต่อหนังที่ได้ดูในช่วงนี้
--ไม่รู้ว่าเพราะอะไร ตอนจบของ SUMMER PALACE ถึงทำให้นึกถึงเนื้อเพลง THE WAY WE WERE ของ BARBRA STREISAND
Mem'ries,
Light the corners of my mind
Misty water-colored memories
Of the way we were
Scattered pictures,
Of the smiles we left behind
Smiles we gave to one another
For the way we were
Can it be that it was all so simple then?
Or has time re-written every line?
If we had the chance to do it all again
Tell me, would we? Could we?
Mem'ries, may be beautiful and yet
What's too painful to remember
We simply choose to forget
So it's the laughter
We will remember
Whenever we remember...
The way we were...
The way we were...
--ดูและฟัง THE WAY WE WERE ได้ที่นี่จ้ะ
http://www.youtube.com/watch?v=NcZUJXvD-EA&mode=related&search=
--ละครอีกเรื่องนึงที่กะว่าจะดูให้ได้ คือ ENTOURAGE ที่จะมาฉายทาง HBO สิ้นเดือนนี้ สาเหตุเพราะว่า JEREMY PIVEN สามี (ในฝัน) ของดิฉัน นำแสดงในละครเรื่องนี้จ้ะ
http://www.imdb.com/title/tt0387199/
--ส่วนละครที่ได้ดูแว้บๆแค่บางตอน แต่ชอบมาก ก็คือ CARNIVALE SEASON TWO (A+) ที่เพิ่งจบไปทางช่อง HBO มีอยู่สองฉากที่ดูแล้วลืมไม่ลงในละครเรื่องนี้ นั่นก็คือฉากที่
1.AMY MADIGAN (1950) ฆ่าสาวใช้วัยชราอย่างอำมหิตและฉับพลันมากจนคาดไม่ถึง โดยส่วนตัวแล้ว คิดว่า AMY MADIGAN เล่นได้ดีมากในละครเรื่องนี้ และมองไปมองมาก็รู้สึกว่าเธอให้อารมณ์คล้าย ISABELLE HUPPERT บ้างเหมือนกัน
http://www.imdb.com/name/nm0001496/
2.ฉากที่สุดหล่อ TIM DEKAY ถูกฝูงชนเอาน้ำมันดินกับขนนกราดทำร้าย
--ชอบที่ CARNIVALE เป็นละครที่มีลักษณะเหนือธรรมชาติคล้ายๆนิยายของ DEAN KOONTZ แต่ละครเรื่องนี้ก็แสดงให้เห็นถึงความชั่วร้ายของทั้งอำนาจรัฐ (นักการเมือง), อำนาจศาสนา (นักบวชชั่ว) และประชาชนที่ชอบใช้ความรุนแรง ส่วนคนนอกของสังคมอย่างคนในคณะสวนสนุกนี้ก็มีคนชั่วปะปนอยู่ด้วยเช่นกัน
--ประหลาดใจเช่นกันที่ตัวเองชอบ HELEN THE BABY FOX ไม่รู้สารเคมีในสมองเกิดผิดเพี้ยนไปชั่วคราวหรือเปล่า แต่คิดว่า HELEN THE BABY FOX มันให้ความรู้สึก “โปร่งโล่ง” บางอย่าง ก็เลยมีความสุขกับจุดนี้มาก ทั้ง HELEN THE BABY FOX และ PAPA (2005, MAURICE BARTHELEMY, A+) ต่างก็เป็นหนังที่มีเนื้อหาไม่เข้าทางดิฉันอย่างรุนแรง แต่ตัวหนังกลับเข้าทางดิฉันมากๆ โดยที่ดิฉันเองก็ไม่เข้าใจตัวเองเหมือนกันว่าเพราะอะไรกันแน่
--รู้สึกว่าหนังที่เข้าฉายในช่วงนี้มีอะไรบางอย่างพ้องๆกันโดยไม่ได้ตั้งใจ อย่างเช่น
1.ไม่แน่ใจว่าตัวเองจำผิดหรือเปล่า ถ้าใครจำได้ก็ช่วยบอกด้วย ในหนังเรื่อง LADY IN THE WATER จะมีฉากที่พระเอกไปถามกลุ่มผู้ชายว่าพวกเขาคุยเรื่องอะไรกัน แล้วก็มีคนนึงตอบว่าพวกเขาคุยเรื่องมาร์ติน ลูเธอร์ คิง หรือตอบชื่อใครสักคนออกมา ดิฉันจำชื่อไม่ได้แน่นอน แต่ถ้าหากเป็นมาร์ติน ลูเธอร์ คิงจริงๆ ก็น่าสนใจดี เพราะเขาถูกลอบสังหาร เหมือนกับที่ตัวละครตัวนึงใน LADY IN THE WATER ก็จะถูกลอบสังหารในอนาคตเช่นกัน
อีกสิ่งหนึ่งที่ดิฉันจำไม่ได้ และคงไม่มีโอกาสได้ตรวจสอบดูในเร็วๆนี้ ก็คือในหนังเรื่อง EMPIRE OF THE WOLVES (2005, CHRIS NAHON, A-/B+) ที่เพิ่งมาฉายที่egv metropolisนั้น ดิฉันไม่แน่ใจว่า ฉากเปิดเรื่องของหนังเรื่องนี้เป็นการขึ้นภาพของบุคคลสำคัญในอดีตที่ต่างก็ถูกลอบสังหารทั้งสิ้นหรือเปล่า ถ้าจำไม่ผิด หนังเรื่องนี้จะเปิดด้วยภาพของ JOHN F. KENNEDY, MARTIN LUTHER KING, ABRAHAM LINCOLN หรืออะไรทำนองนี้ แล้วหลังจากนั้นหนังถึงค่อยมาเฉลยในภายหลังว่า นางเอกและตัวละครสำคัญบางตัวมีส่วนพัวพันกับการลอบสังหารบุคคลสำคัญทางการเมือง
รู้สึกแปลกๆดีที่ได้ดูหนัง 2 เรื่องที่พาดพิงถึงการลอบสังหารบุคคลสำคัญทางการเมืองในเวลาไล่เลี่ยกันอย่างนี้
2.ทั้ง LADY IN THE WATER และ RUNNING SCARED ต่างก็มีความเป็นเทพนิยายเหมือนๆกัน แต่ออกมาคนละโทน ส่วนใน HELEN THE BABY FOX นั้น ตัวละครในเรื่องก็มองเห็นคนเป็นแม่มดในบางฉาก
3.ทั้ง RUNNING SCARED และ MY ANGEL (2004, SERGE FRYDMAN, A+) ต่างก็มีตัวละครโสเภณีหรือผู้หญิงที่ขายเรือนร่าง แต่ตัวละครโสเภณีในหนังสองเรื่องนี้กลับมีบทบาทเป็นเหมือน “นางฟ้า” ที่มีจิตใจดีงามแสนประเสริฐ
4.ทั้ง SUMMER PALACE และ SOPHIE SCHOLL – THE FINAL DAYS ต่างก็พูดถึงหนุ่มสาวท่ามกลางฉากหลังทางการเมืองที่ร้อนแรงเหมือนกัน และก็เลยทำให้นึกถึงหนังเหล่านี้ที่นำเสนอหนุ่มสาวท่ามกลางฉากหลังทางการเมืองเช่นเดียวกัน
4.1 ZABRISKIE POINT (1970, MICHELANGELO ANTONIONI, A+)
เกี่ยวกับหนุ่มสาวในอเมริกา
4.2 THE MOONHUNTER (2001, BHANDIT RITTAKOL, A)
4.3 PUNITIVE DAMAGE: A MOTHER’S TRIAL (1999, ANNIE GOLDSON, A-)
http://www.imdb.com/title/tt0207030/
สารคดีเรื่องนี้มีเนื้อหาเกี่ยวกับแม่ที่เรียกร้องความเป็นธรรมให้กับลูกชายที่เป็นนักศึกษาที่ถูกฆ่าตายในช่วงที่ทหารอินโดนีเซียสังหารหมู่ประชาชนจำนวนมากในติมอร์ตะวันออก
ชอบความเห็นของผู้ชมคนนึงใน IMDB.COM มาก เขาบอกว่า
It is the type of documentary that boils the blood and makes us wonder why we haven't done anything about it in the last 25 years.
4.4 COSY DENS (1999, JAN HREBEJK, A-/B+)
เกี่ยวกับชีวิตหนุ่มสาวชาวเชคโกสโลวาเกียก่อนเกิดเหตุการณ์ PRAGUE SPRING ที่กองทัพโซเวียตบุกเข้าประเทศนี้ในเดือนส.ค.ปี 1968 (คนที่ดูหนังเรื่อง UNBEARABLE LIGHTNESS OF BEING คงนึกถึงเหตุการณ์นี้ออก)
4.5 GIE (2005, RIRI RIZA, A-/B+)
สร้างจากเรื่องจริงเกี่ยวกับหนุ่มอินโดนีเซียที่เป็นนักคิดนักเขียนทางการเมือง
4.6 THE BEST OF YOUTH (2003, MARCO TULLIO GIORDANA, B+)
เกี่ยวกับหนุ่มสาวอิตาลีที่พยายามเคลื่อนไหวทางการเมือง
4.7 TANGO FEROZ: THE LEGEND OF TANGUITO (1993, MARCELO PINEYRO, B)
เกี่ยวกับนักร้องหนุ่มในอาร์เจนตินาในทศวรรษ 1960 ที่ต่อมาถูกทางการจับไปขัง
http://www.newint.org/issue252/reviews.htm
Fast-paced, this film captures the idealism of 1960s youth in urban Latin America pitted against the looming power of the morbid state.
4.8 REGULAR LOVERS (2005, PHILIPPE GARREL)
เกี่ยวกับหนุ่มสาวฝรั่งเศสในเหตุการณ์จลาจลปี 1968
4.9 MACHUCA (2004, ANDRES WOOD)
เกี่ยวกับหนุ่มสาวในชิลีปี 1973 ซึ่งเป็นปีที่มีการปฏิวัตินองเลือด
หนังที่ได้ดูในวันเสาร์ + อาทิตย์
1.ฝันเรียม (ลัดดาวัลย์ สืบเพ็ง, A+++++)
เป็นหนังที่ทำให้หัวเราะได้มากที่สุดนับตั้งแต่ดูหนังของ ULRIKE OTTINGER ในเดือนต.ค.ปีที่แล้วเป็นต้นมา
2.เมืองเอก 1579 (เสรีย์ หล้าชนบท, A+)
ดูแล้วงง
3.SO FAR AWAY (สฤษดิ์รงค์ หยงสตาร์, A+)
4.บักซิเด๋อ (อุทิศ จิตร์อารีย์, A+)
5.บ้านของผม (ประกายรัตน์ ณ ศรีโต, A+)
6.ไม่ไปรังสิต (ชาคร ไชยปรีชา, A+)
7.LADY IN THE WATER (2006, M. NIGHT SHYAMALAN, A+)
ตอนนี้ยังไม่แน่ใจว่าระหว่างเรื่องนี้กับ UNBREAKABLE (2000, A+) ดิฉันชอบเรื่องไหนมากกว่ากัน แต่ที่แน่ๆก็คือชอบสองเรื่องนี้มากกว่า THE VILLAGE (2004, A), THE SIXTH SENSE (1999, A-) และ SIGNS (2002, B+) จ้ะ
8.ทิชชู (ธนีดา หาญทวีวัฒนา, A+)
รู้สึกว่าหนังเรื่องนี้ “สมบูรณ์แบบ” มาก
9.พื้นที่เล็กๆ (วีระ รักบ้านเกิด, A+)
10.3 นาที (นภดล สุเนต์ตา, A+)
คุณนภดล สุเนต์ตาเคยกำกับหนังสยองขวัญเรื่อง HOME ALONE (2005, A+)
11.8-9 (นวกานต์ ราชานาค, A+)
ดูแล้วงง
12.MISSED CALL (วัลยา สุภาพ, A)
ถ้าเข้าใจไม่ผิด คุณวัลยา สุภาพเคยกำกับหนังโรแมนติกเรื่อง THE OPPOSITE DOOR (A) ที่เคยฉายในปีที่แล้ว
13.อุบัติเหตุ (สราวรรณ วีระวัฒน์, A)
ไม่เข้าใจหนังเรื่องนี้เท่าไหร่ (หรือบางทีมันอาจจะไม่มีอะไรให้ต้องทำความเข้าใจแต่อย่างใด) แต่มันติดอยู่ในความทรงจำดี
14.CITY REPORT (ชาคริต วิชัยยุทธิ์, A)
หนังเรื่องนี้ “แทบไม่มีอะไรเลย” แต่ดูหนังแบบนี้แล้วรู้สึกมีความสุขมากกว่าดูหนังที่มีเนื้อหาสาระบางเรื่อง
15.ฝัน (ศุกลภัทร ประสงค์ทรัพย์, A)
16.นิทานเม่น (ทศพล ทิพย์ทินกร, A)
17.รักหรือ? (ผดุง สมาจาร, A)
18.สงกรานต์ (วิชาติ สมแก้ว, A-)
19.ตามหาอ๊าดบ๊องส์ (วารุต ยืนนาน, A-)
20.เจิ๊ด (พิทักษ์ ไพรพล, A-)
21.คนแรกที่สัญญา คนสุดท้ายที่รอคอย (ชยสร ศรีประเสริฐศักดิ์, A-)
22.SOUND OF SILENCE (ธาวิต รักรังสิมันต์สุข, A-)
23.ชื่อภาพ “ครอบครัว” (ศิลป์สิริ ประภาวงศ์, B+)
24.503 (ปุณณวิชญ์ เทศนา, B)
25.คนมอแกน (คมจักร ทองจิบ, B)
26.REBOUND (จุลจักร แสงอรุณ, B)
27.พ่อ (จิรภัทร นำศิริวิวัฒ, B-)
--ได้ดูหนังเรื่อง “วันสุดท้าย” (พสิษฐ์ สัจจพงษ์) ด้วย แต่ตอนนี้นึกไม่ออกแล้วแฮะว่าหนังมีเนื้อหาเกี่ยวกับอะไร
--ได้ดู SHE IS READING NEWSPAPER (ทศพล บุญสินสุข, A++++++++++) รอบสอง และรู้สึกว่ามันเป็นหนังที่ช่วยเยียวยาจิตใจดิฉันได้อย่างมหัศจรรย์มาก เพราะตอนเช้าวันเสาร์ดิฉันมีเรื่องไม่สบายใจ มีเรื่องกลุ้มหมองค้างคาอยู่ในใจตั้งแต่เช้า แต่อยู่ดีๆพอดู SHE IS READING NEWSPAPER ความเศร้าความขัดเคืองใจก็เหมือนถูกชะล้างให้หายไปอย่างน่าประหลาด ดิฉันรู้สึกเหมือนกับว่าหนังเรื่องนี้แสดงให้เห็นถึง “ความสุขสงบ” ที่หาได้ง่ายๆในชีวิตโดยไม่ต้องดิ้นรนอะไรให้มากมาย และเป็นความสุขแบบที่ไม่ต้อง “เรียกร้อง” อะไรจากคนอื่นๆให้มากมาย การได้ดูภาพท้องฟ้าในหนังเรื่องนี้ บวกกับดนตรีประกอบที่โผล่ขึ้นมาในจังหวะนั้น มันเหมือนกับมีใครเอาไฮโดรเยนเพอร์ออกไซด์มาราดลงบนแผลในใจดิฉัน และชะล้างเชื้อโรคหนองเน่าให้หายไปจากใจได้ในทันที
ประสบการณ์ FILM HEALING แบบนี้เคยเกิดขึ้นมาแล้วเหมือนกันตอนดูหนังเรื่อง PISCINE (2002, JEAN-BAPTISTE BRUANT + MARIA SPANGARO, A+++++) ในเดือนธ.ค.ปีที่แล้ว หนังความยาว 1 ชั่วโมงเรื่องนี้ไม่มีอะไรเลยนอกจากกลุ่มคนที่เดินไปเดินมาในสระว่ายน้ำ แต่ดูแล้วกลับรู้สึกเหมือนจิตใจได้ถูกชะล้างความทุกข์ความเศร้าความเดือดเนื้อร้อนใจความปริเทวนาการต่างๆให้หลุดหายไปได้อย่างน่ามหัศจรรย์มาก (บางทีดิฉันอาจจะเป็นบ้าค่ะ)
คิดว่าถ้าทำลิงค์ไปเฉยๆ คงไม่ต้องขออนุญาตอะไรมั้งคะ น่าจะลิงค์ไปได้เลย เพราะดิฉันเองก็ทำลิงค์ไปที่กระทู้นั้นเลยเหมือนกัน ฮ่าๆๆ รู้สึกว่าในกระทู้นั้นคนส่วนใหญ่จะพูดจากันอย่างมีเหตุมีผลและเรียบเรียงความคิดได้อย่างน่าทึ่งมากๆ ดิฉันอ่านแล้วก็ได้แต่ชื่นชม แต่ไม่มีความสามารถที่จะคิดตอบอะไรได้ ก็เลยขอแสดงความชื่นชมด้วยการเอาลิงค์มาแปะเพื่อให้คนที่สนใจได้เข้าไปอ่านกระทู้นั้นกันเอง
ตอบน้อง merveillesxx
--ยังไม่ได้ดู TWENTYNINE PALMS เลยจ้ะ แต่ดู LIFE OF JESUS (1997, BRUNO DUMONT, A+) กับ HUMANITY (1999, BRUNO DUMONT, A+) แล้ว คิดว่าเขาเป็นหนึ่งในผู้กำกับหนังฝรั่งเศสยุคใหม่ที่น่าสนใจที่สุดคนนึงเลย
--ชอบ INFECTION ในระดับ B+ เช่นกัน จำรายละเอียดอะไรในหนังไม่ได้แล้ว จำได้แต่ว่ามีอะไรเกี่ยวกับแอปเปิลในหนังที่มันน่าติดใจดี
--ชอบบุปผาราตรีภาค 1 (A-) มากกว่าภาคสองเช่นกัน ภาคสองชอบมุกที่บุปผาออกไปเรียนหนังสือทุกวัน จำได้ว่ามีคนมาตั้งกระทู้ถามใน PANTIP ด้วยว่า บุปผาไปเรียนหนังสือที่มหาลัยไหนและเรียนวิชาอะไร
--พูดถึงกระทู้ใน PANTIP แล้ว มีอีกกระทู้นึงที่ตั้งคำถามได้ฮาดีจนจำได้ไม่ลืม นั่นก็คือกระทู้ที่ถามว่า เทพธิดาพยากรณ์ (THE ORACLE) ใน THE MATRIX กับเทพธิดาพยากรณ์ 1900 ใครเก่งกว่ากันคะ
--ไม่รู้ว่าจะได้มีเวลาดู SLOWDANCE หรือเปล่า จริงๆกะว่าจะดูอมฤตาลัย แต่ก็ไม่ได้ดูเสียที
วันนี้ขอตอบทุกคนอย่างสั้นๆก่อนแล้วกันนะคะ แล้วเดี๋ยวว่างๆจะมาตอบต่ออีกทีค่ะ
ตอบเทพธิดาพยากรณ์แฟรงเกนสไตน์
--ดีใจมากๆจ้าที่ชอบ SOPHIE SCHOLL – THE FINAL DAYS
--พูดถึงละครเวทีเกี่ยวกับผู้หญิงหัวขบถ ก็คิดว่าคุณแฟรงเกนสไตน์คงได้ข่าวแล้วเรื่องที่จะมีการแสดงละครเวที ANTIGONE ของกลุ่มพระจันทร์เสี้ยว ดูรายละเอียดได้ที่นี่ค่ะ
http://www.crescentmoontheatre.com/Home.htm
ละครจะมีแสดงวันที่ 4, 5, 6 ส.ค.ที่สถาบันปรีดี พนมยงค์ ซอยทองหล่อ กำกับการแสดงโดยสินีนาฏ เกษประไพ
ตอบน้อง PINK 0700
--โฮๆๆๆ พี่ยังไม่เคยดู ROCCO SIFFREDI เลยจ้ะ แต่บี การินนี่หน้าตาน่ารักดีนะ
--จำได้ว่า UNDISCOVERED เคยเข้าฉายที่เอ็มโพเรียม แต่ไม่มีเวลาไปดูในตอนนั้น จนถึงบัดนี้ก็เลยยังไม่ได้ดูเลย
--อุ๊ยตายแล้ว ต้องกลับไปดู THE MIRROR ใหม่อีกรอบแล้วสิเนี่ย
--หนุ่มรัสเซียที่พี่เคยชอบมากก็คือ SERGEI BODROV JR. ที่เล่นเป็นนักว่ายน้ำในเรื่อง EAST WEST (1999, REGIS WARGNIER, A) จ้ะ แต่น่าเสียดายที่เขาตายเสียแล้ว
--JOAQUIN PHOENIX ใน SIGNS น่ารักมากๆ ดูซื่อๆดี แต่หลังๆได้เห็นเขาในบทคนเจ้าเล่ห์ๆ ก็เลยลดความชอบเขาลงไป คือเขาแสดงได้เก่งมากนะ แต่เขารับบทเป็นผู้ชายที่ไม่ค่อยน่าพิสมัยเท่าไหร่ อย่างเช่นใน BUFFALO SOLDIER (B+/B) กับใน WALK THE LINE (A)
--ยังไม่ได้ดู GODS AND MONSTERS เลยจ้ะ แต่ประทับใจการเปรียบเทียบของน้องอย่างมากๆ
--วันนี้ดึกแล้ว แล้ววันหลังจะมาตอบน้องต่อนะจ๊ะ
ตอบคุณ CHRIS’S GIRLFRIEND
--รู้สึกว่าตัวเองเป็น MASOCHIST เหมือนกันจ้ะ ทั้งในทางจิตใจและในทางร่างกาย อยากให้มีผู้ชายมาทำให้เราเจ็บ (ปนเสียว) บ้างจัง
--บางทีดิฉันก็คิดว่าสาเหตุที่ดิฉันชอบดูหนังเศร้าๆเป็นเพราะดิฉันเป็นโรคขี้อิจฉา ถ้าหากดูหนังที่ HAPPY ENDING แล้วดิฉันจะรู้สึกเป็นทุกข์มากๆ เพราะรู้สึกว่าชีวิตของตัวเองสู้ตัวละครในหนังไม่ได้ แต่พอดูหนังประเภทชีวิตรันทดแล้วดิฉันจะรู้สึกว่ามีความสุขมากๆ และรู้สึกว่าชีวิตของตัวเองนี่ก็น่าจะมีความสุขมากแล้วนะถ้าหากเทียบกับตัวละครในเรื่อง
--ชอบ RATCATCHER, EXOTICA, WHERE THE TRUTH LIES, GABBEH, SHE’S THE MAN ในระดับใกล้เคียงกับน้องเหมือนกันจ้ะ ในบรรดาหนัง 5 เรื่องนี้ ชอบ EXOTICA มากที่สุดจ้ะ
ความรู้สึกต่อหนังที่ได้ดูในช่วงนี้
--ไม่รู้ว่าเพราะอะไร ตอนจบของ SUMMER PALACE ถึงทำให้นึกถึงเนื้อเพลง THE WAY WE WERE ของ BARBRA STREISAND
Mem'ries,
Light the corners of my mind
Misty water-colored memories
Of the way we were
Scattered pictures,
Of the smiles we left behind
Smiles we gave to one another
For the way we were
Can it be that it was all so simple then?
Or has time re-written every line?
If we had the chance to do it all again
Tell me, would we? Could we?
Mem'ries, may be beautiful and yet
What's too painful to remember
We simply choose to forget
So it's the laughter
We will remember
Whenever we remember...
The way we were...
The way we were...
--ดูและฟัง THE WAY WE WERE ได้ที่นี่จ้ะ
http://www.youtube.com/watch?v=NcZUJXvD-EA&mode=related&search=
--ละครอีกเรื่องนึงที่กะว่าจะดูให้ได้ คือ ENTOURAGE ที่จะมาฉายทาง HBO สิ้นเดือนนี้ สาเหตุเพราะว่า JEREMY PIVEN สามี (ในฝัน) ของดิฉัน นำแสดงในละครเรื่องนี้จ้ะ
http://www.imdb.com/title/tt0387199/
--ส่วนละครที่ได้ดูแว้บๆแค่บางตอน แต่ชอบมาก ก็คือ CARNIVALE SEASON TWO (A+) ที่เพิ่งจบไปทางช่อง HBO มีอยู่สองฉากที่ดูแล้วลืมไม่ลงในละครเรื่องนี้ นั่นก็คือฉากที่
1.AMY MADIGAN (1950) ฆ่าสาวใช้วัยชราอย่างอำมหิตและฉับพลันมากจนคาดไม่ถึง โดยส่วนตัวแล้ว คิดว่า AMY MADIGAN เล่นได้ดีมากในละครเรื่องนี้ และมองไปมองมาก็รู้สึกว่าเธอให้อารมณ์คล้าย ISABELLE HUPPERT บ้างเหมือนกัน
http://www.imdb.com/name/nm0001496/
2.ฉากที่สุดหล่อ TIM DEKAY ถูกฝูงชนเอาน้ำมันดินกับขนนกราดทำร้าย
--ชอบที่ CARNIVALE เป็นละครที่มีลักษณะเหนือธรรมชาติคล้ายๆนิยายของ DEAN KOONTZ แต่ละครเรื่องนี้ก็แสดงให้เห็นถึงความชั่วร้ายของทั้งอำนาจรัฐ (นักการเมือง), อำนาจศาสนา (นักบวชชั่ว) และประชาชนที่ชอบใช้ความรุนแรง ส่วนคนนอกของสังคมอย่างคนในคณะสวนสนุกนี้ก็มีคนชั่วปะปนอยู่ด้วยเช่นกัน
--ประหลาดใจเช่นกันที่ตัวเองชอบ HELEN THE BABY FOX ไม่รู้สารเคมีในสมองเกิดผิดเพี้ยนไปชั่วคราวหรือเปล่า แต่คิดว่า HELEN THE BABY FOX มันให้ความรู้สึก “โปร่งโล่ง” บางอย่าง ก็เลยมีความสุขกับจุดนี้มาก ทั้ง HELEN THE BABY FOX และ PAPA (2005, MAURICE BARTHELEMY, A+) ต่างก็เป็นหนังที่มีเนื้อหาไม่เข้าทางดิฉันอย่างรุนแรง แต่ตัวหนังกลับเข้าทางดิฉันมากๆ โดยที่ดิฉันเองก็ไม่เข้าใจตัวเองเหมือนกันว่าเพราะอะไรกันแน่
--รู้สึกว่าหนังที่เข้าฉายในช่วงนี้มีอะไรบางอย่างพ้องๆกันโดยไม่ได้ตั้งใจ อย่างเช่น
1.ไม่แน่ใจว่าตัวเองจำผิดหรือเปล่า ถ้าใครจำได้ก็ช่วยบอกด้วย ในหนังเรื่อง LADY IN THE WATER จะมีฉากที่พระเอกไปถามกลุ่มผู้ชายว่าพวกเขาคุยเรื่องอะไรกัน แล้วก็มีคนนึงตอบว่าพวกเขาคุยเรื่องมาร์ติน ลูเธอร์ คิง หรือตอบชื่อใครสักคนออกมา ดิฉันจำชื่อไม่ได้แน่นอน แต่ถ้าหากเป็นมาร์ติน ลูเธอร์ คิงจริงๆ ก็น่าสนใจดี เพราะเขาถูกลอบสังหาร เหมือนกับที่ตัวละครตัวนึงใน LADY IN THE WATER ก็จะถูกลอบสังหารในอนาคตเช่นกัน
อีกสิ่งหนึ่งที่ดิฉันจำไม่ได้ และคงไม่มีโอกาสได้ตรวจสอบดูในเร็วๆนี้ ก็คือในหนังเรื่อง EMPIRE OF THE WOLVES (2005, CHRIS NAHON, A-/B+) ที่เพิ่งมาฉายที่egv metropolisนั้น ดิฉันไม่แน่ใจว่า ฉากเปิดเรื่องของหนังเรื่องนี้เป็นการขึ้นภาพของบุคคลสำคัญในอดีตที่ต่างก็ถูกลอบสังหารทั้งสิ้นหรือเปล่า ถ้าจำไม่ผิด หนังเรื่องนี้จะเปิดด้วยภาพของ JOHN F. KENNEDY, MARTIN LUTHER KING, ABRAHAM LINCOLN หรืออะไรทำนองนี้ แล้วหลังจากนั้นหนังถึงค่อยมาเฉลยในภายหลังว่า นางเอกและตัวละครสำคัญบางตัวมีส่วนพัวพันกับการลอบสังหารบุคคลสำคัญทางการเมือง
รู้สึกแปลกๆดีที่ได้ดูหนัง 2 เรื่องที่พาดพิงถึงการลอบสังหารบุคคลสำคัญทางการเมืองในเวลาไล่เลี่ยกันอย่างนี้
2.ทั้ง LADY IN THE WATER และ RUNNING SCARED ต่างก็มีความเป็นเทพนิยายเหมือนๆกัน แต่ออกมาคนละโทน ส่วนใน HELEN THE BABY FOX นั้น ตัวละครในเรื่องก็มองเห็นคนเป็นแม่มดในบางฉาก
3.ทั้ง RUNNING SCARED และ MY ANGEL (2004, SERGE FRYDMAN, A+) ต่างก็มีตัวละครโสเภณีหรือผู้หญิงที่ขายเรือนร่าง แต่ตัวละครโสเภณีในหนังสองเรื่องนี้กลับมีบทบาทเป็นเหมือน “นางฟ้า” ที่มีจิตใจดีงามแสนประเสริฐ
4.ทั้ง SUMMER PALACE และ SOPHIE SCHOLL – THE FINAL DAYS ต่างก็พูดถึงหนุ่มสาวท่ามกลางฉากหลังทางการเมืองที่ร้อนแรงเหมือนกัน และก็เลยทำให้นึกถึงหนังเหล่านี้ที่นำเสนอหนุ่มสาวท่ามกลางฉากหลังทางการเมืองเช่นเดียวกัน
4.1 ZABRISKIE POINT (1970, MICHELANGELO ANTONIONI, A+)
เกี่ยวกับหนุ่มสาวในอเมริกา
4.2 THE MOONHUNTER (2001, BHANDIT RITTAKOL, A)
4.3 PUNITIVE DAMAGE: A MOTHER’S TRIAL (1999, ANNIE GOLDSON, A-)
http://www.imdb.com/title/tt0207030/
สารคดีเรื่องนี้มีเนื้อหาเกี่ยวกับแม่ที่เรียกร้องความเป็นธรรมให้กับลูกชายที่เป็นนักศึกษาที่ถูกฆ่าตายในช่วงที่ทหารอินโดนีเซียสังหารหมู่ประชาชนจำนวนมากในติมอร์ตะวันออก
ชอบความเห็นของผู้ชมคนนึงใน IMDB.COM มาก เขาบอกว่า
It is the type of documentary that boils the blood and makes us wonder why we haven't done anything about it in the last 25 years.
4.4 COSY DENS (1999, JAN HREBEJK, A-/B+)
เกี่ยวกับชีวิตหนุ่มสาวชาวเชคโกสโลวาเกียก่อนเกิดเหตุการณ์ PRAGUE SPRING ที่กองทัพโซเวียตบุกเข้าประเทศนี้ในเดือนส.ค.ปี 1968 (คนที่ดูหนังเรื่อง UNBEARABLE LIGHTNESS OF BEING คงนึกถึงเหตุการณ์นี้ออก)
4.5 GIE (2005, RIRI RIZA, A-/B+)
สร้างจากเรื่องจริงเกี่ยวกับหนุ่มอินโดนีเซียที่เป็นนักคิดนักเขียนทางการเมือง
4.6 THE BEST OF YOUTH (2003, MARCO TULLIO GIORDANA, B+)
เกี่ยวกับหนุ่มสาวอิตาลีที่พยายามเคลื่อนไหวทางการเมือง
4.7 TANGO FEROZ: THE LEGEND OF TANGUITO (1993, MARCELO PINEYRO, B)
เกี่ยวกับนักร้องหนุ่มในอาร์เจนตินาในทศวรรษ 1960 ที่ต่อมาถูกทางการจับไปขัง
http://www.newint.org/issue252/reviews.htm
Fast-paced, this film captures the idealism of 1960s youth in urban Latin America pitted against the looming power of the morbid state.
4.8 REGULAR LOVERS (2005, PHILIPPE GARREL)
เกี่ยวกับหนุ่มสาวฝรั่งเศสในเหตุการณ์จลาจลปี 1968
4.9 MACHUCA (2004, ANDRES WOOD)
เกี่ยวกับหนุ่มสาวในชิลีปี 1973 ซึ่งเป็นปีที่มีการปฏิวัตินองเลือด
หนังที่ได้ดูในวันเสาร์ + อาทิตย์
1.ฝันเรียม (ลัดดาวัลย์ สืบเพ็ง, A+++++)
เป็นหนังที่ทำให้หัวเราะได้มากที่สุดนับตั้งแต่ดูหนังของ ULRIKE OTTINGER ในเดือนต.ค.ปีที่แล้วเป็นต้นมา
2.เมืองเอก 1579 (เสรีย์ หล้าชนบท, A+)
ดูแล้วงง
3.SO FAR AWAY (สฤษดิ์รงค์ หยงสตาร์, A+)
4.บักซิเด๋อ (อุทิศ จิตร์อารีย์, A+)
5.บ้านของผม (ประกายรัตน์ ณ ศรีโต, A+)
6.ไม่ไปรังสิต (ชาคร ไชยปรีชา, A+)
7.LADY IN THE WATER (2006, M. NIGHT SHYAMALAN, A+)
ตอนนี้ยังไม่แน่ใจว่าระหว่างเรื่องนี้กับ UNBREAKABLE (2000, A+) ดิฉันชอบเรื่องไหนมากกว่ากัน แต่ที่แน่ๆก็คือชอบสองเรื่องนี้มากกว่า THE VILLAGE (2004, A), THE SIXTH SENSE (1999, A-) และ SIGNS (2002, B+) จ้ะ
8.ทิชชู (ธนีดา หาญทวีวัฒนา, A+)
รู้สึกว่าหนังเรื่องนี้ “สมบูรณ์แบบ” มาก
9.พื้นที่เล็กๆ (วีระ รักบ้านเกิด, A+)
10.3 นาที (นภดล สุเนต์ตา, A+)
คุณนภดล สุเนต์ตาเคยกำกับหนังสยองขวัญเรื่อง HOME ALONE (2005, A+)
11.8-9 (นวกานต์ ราชานาค, A+)
ดูแล้วงง
12.MISSED CALL (วัลยา สุภาพ, A)
ถ้าเข้าใจไม่ผิด คุณวัลยา สุภาพเคยกำกับหนังโรแมนติกเรื่อง THE OPPOSITE DOOR (A) ที่เคยฉายในปีที่แล้ว
13.อุบัติเหตุ (สราวรรณ วีระวัฒน์, A)
ไม่เข้าใจหนังเรื่องนี้เท่าไหร่ (หรือบางทีมันอาจจะไม่มีอะไรให้ต้องทำความเข้าใจแต่อย่างใด) แต่มันติดอยู่ในความทรงจำดี
14.CITY REPORT (ชาคริต วิชัยยุทธิ์, A)
หนังเรื่องนี้ “แทบไม่มีอะไรเลย” แต่ดูหนังแบบนี้แล้วรู้สึกมีความสุขมากกว่าดูหนังที่มีเนื้อหาสาระบางเรื่อง
15.ฝัน (ศุกลภัทร ประสงค์ทรัพย์, A)
16.นิทานเม่น (ทศพล ทิพย์ทินกร, A)
17.รักหรือ? (ผดุง สมาจาร, A)
18.สงกรานต์ (วิชาติ สมแก้ว, A-)
19.ตามหาอ๊าดบ๊องส์ (วารุต ยืนนาน, A-)
20.เจิ๊ด (พิทักษ์ ไพรพล, A-)
21.คนแรกที่สัญญา คนสุดท้ายที่รอคอย (ชยสร ศรีประเสริฐศักดิ์, A-)
22.SOUND OF SILENCE (ธาวิต รักรังสิมันต์สุข, A-)
23.ชื่อภาพ “ครอบครัว” (ศิลป์สิริ ประภาวงศ์, B+)
24.503 (ปุณณวิชญ์ เทศนา, B)
25.คนมอแกน (คมจักร ทองจิบ, B)
26.REBOUND (จุลจักร แสงอรุณ, B)
27.พ่อ (จิรภัทร นำศิริวิวัฒ, B-)
--ได้ดูหนังเรื่อง “วันสุดท้าย” (พสิษฐ์ สัจจพงษ์) ด้วย แต่ตอนนี้นึกไม่ออกแล้วแฮะว่าหนังมีเนื้อหาเกี่ยวกับอะไร
--ได้ดู SHE IS READING NEWSPAPER (ทศพล บุญสินสุข, A++++++++++) รอบสอง และรู้สึกว่ามันเป็นหนังที่ช่วยเยียวยาจิตใจดิฉันได้อย่างมหัศจรรย์มาก เพราะตอนเช้าวันเสาร์ดิฉันมีเรื่องไม่สบายใจ มีเรื่องกลุ้มหมองค้างคาอยู่ในใจตั้งแต่เช้า แต่อยู่ดีๆพอดู SHE IS READING NEWSPAPER ความเศร้าความขัดเคืองใจก็เหมือนถูกชะล้างให้หายไปอย่างน่าประหลาด ดิฉันรู้สึกเหมือนกับว่าหนังเรื่องนี้แสดงให้เห็นถึง “ความสุขสงบ” ที่หาได้ง่ายๆในชีวิตโดยไม่ต้องดิ้นรนอะไรให้มากมาย และเป็นความสุขแบบที่ไม่ต้อง “เรียกร้อง” อะไรจากคนอื่นๆให้มากมาย การได้ดูภาพท้องฟ้าในหนังเรื่องนี้ บวกกับดนตรีประกอบที่โผล่ขึ้นมาในจังหวะนั้น มันเหมือนกับมีใครเอาไฮโดรเยนเพอร์ออกไซด์มาราดลงบนแผลในใจดิฉัน และชะล้างเชื้อโรคหนองเน่าให้หายไปจากใจได้ในทันที
ประสบการณ์ FILM HEALING แบบนี้เคยเกิดขึ้นมาแล้วเหมือนกันตอนดูหนังเรื่อง PISCINE (2002, JEAN-BAPTISTE BRUANT + MARIA SPANGARO, A+++++) ในเดือนธ.ค.ปีที่แล้ว หนังความยาว 1 ชั่วโมงเรื่องนี้ไม่มีอะไรเลยนอกจากกลุ่มคนที่เดินไปเดินมาในสระว่ายน้ำ แต่ดูแล้วกลับรู้สึกเหมือนจิตใจได้ถูกชะล้างความทุกข์ความเศร้าความเดือดเนื้อร้อนใจความปริเทวนาการต่างๆให้หลุดหายไปได้อย่างน่ามหัศจรรย์มาก (บางทีดิฉันอาจจะเป็นบ้าค่ะ)
Saturday, July 22, 2006
LEONARDO TREVIGLIO
ตอบน้อง PINK0700
--ประทับใจกับฉากต้นๆของ THIS GIRL'S LIFE มากๆเหมือนกันค่ะ ดีใจมากค่ะที่น้องได้ดูหนังเรื่องนี้ พี่ชอบหนังเรื่องนี้มากพอสมควรโดยเฉพาะในช่วงต้นเรื่อง แต่ตอนท้ายๆเรื่องรู้สึกว่าอารมณ์มันไม่ค่อยพีคเท่าไหร่ อย่างไรก็ดี พี่ได้ดูหนังเรื่องนี้ในแบบไม่มีซับไตเติล ก็เลยอาจจะไม่สามารถเก็บความสิ่งที่ตัวละครพูดได้หมด บางทีถ้าหากเข้าใจสิ่งที่ตัวละครพูดทั้งหมด ก็อาจจะชอบหนังเรื่องนี้มากขึ้น
รู้สึกว่า JULIETTE MARQUIS นางเอก THIS GIRL'S LIFE สวยเก๋สง่ามาก เธอมาจากยูเครน หน้าตาเธอเหมาะไปรับบทเป็นนางในตำนานศักดิ์สิทธิ์หรืออะไรทำนองนี้ได้
http://www.imdb.com/name/nm1402839/
--LEONARDO TREVIGLIO พี่นึกหน้าไม่ออกแล้วว่าเป็นยังไง ลองไปเช็คประวัติดู พบว่าพี่เคยดูหนังของเขาสองเรื่อง ซึ่งก็คือ SEBASTIANE (1976, DEREK JARMAN, A+) กับ THE PHANTOM OF THE OPERA (1998, DARIO ARGENTO, B) แต่ลองเสิร์ชหารูปของเขาดูแล้ว ท่าทางจะใช้ได้แฮะ นับว่าน้องตาแหลมมากค่ะที่เล็งผู้ชายคนนี้เอาไว้
--จำเพื่อนพระเอกใน GOLDEN BALLS (BIGAS LUNA, A+) ไม่ได้แล้ว ท่าทางจะต้องกลับไปดูอีกรอบ แต่ชอบ JAVIER BARDEM กับ MARIA DE MEDEIROS ในหนังเรื่องนี้มากจ้ะ ตอนนี้พี่ได้ดูหนังของบิกาส ลูน่าไปแค่ 2 เรื่องเท่านั้นเอง อีกเรื่องก็คือ JAMON JAMON (A+) ซึ่งพี่ชอบมากกว่า GOLDEN BALLS สิ่งที่ชอบมากใน JAMON JAMON ก็คือการที่ตัวละครมั่วเซ็กส์กันไปหมด จนเพื่อนพี่ถึงกับบอกว่า "หนังเรื่องนี้สอนให้รู้ว่า ทุกคนบนโลกเป็นญาติกัน"
--พี่อยากเป็นคู่ควงชั่วครั้งชั่วคราวของ ERIC BALFOUR ค่ะ รู้สึกว่าถ้าได้มีอะไรกับเขาบ้างเป็นบางครั้ง คงจะดี แต่พี่รู้สึกว่าหน้าตาเขาดูเจ้าเล่ห์เกินไป ดูใบหน้าแล้วพี่รู้สึกว่าเขาไม่น่าจะเป็นคนรักเดียวใจเดียวได้ รู้สึกว่าเขาต้องนอกใจเราแน่ๆเลย
--เพิ่งจะรู้ว่า THE LAST SEDUCTION มีเวอร์ชันใหม่ออกมาด้วย จำรายละเอียดในเรื่องนี้ไม่ได้แล้ว แต่จำได้ว่าชอบตอนจบมากพอสมควร
--ยังไม่ได้ดู OLIVIER OLIVIER เลยจ้ะ แต่เห็นด้วยว่า GREGOIRE COLIN พระเอกหนังเรื่องนี้มีเสน่ห์คล้ายคีนู รีฟส์
อ่านบทความเกี่ยวกับ GREGOIRE COLIN ได้ที่นี่ค่ะ
http://dir.salon.com/story/ent/feature/2005/05/05/gregoire_colin/index.html
--กรี๊ด ขอแนะนำให้น้องทิ้ง ABOUT SCHMIDT (B+) ไปก่อนค่ะ แล้วดูเบล่า ทาร์ไปเลย ดูแล้วก็มาเล่าให้ฟังบ้างนะคะว่าเป็นยังไงบ้าง พี่ดูหนังของเขาไปแค่เรื่อง ซึ่งก็คือ WERCKMEISTER HARMONIES กับ DAMNATION รู้สึกว่าหนังของเขามันน่าดูซ้ำอีกหลายรอบมากๆ มันมีความสวยงามในความหม่นหมอง และเหมาะจะฉายในโรงใหญ่อย่างมากๆ
--ยังไม่ได้ดู PITFALL, THE HILL HAVE EYES (2006) กับ GRIZZLY MAN เลยจ้ะ แต่ก็อยากดูทั้งสามเรื่องเลย
--จำดนตรีประกอบใน MESHES OF THE AFTERNOON (1943, MAYA DEREN, A+) ไม่ได้แล้วแฮะ สงสัยต้องดูอีกรอบ
http://www.youtube.com/watch?v=WwPVmkCA1PM
--RE-ANIMATOR (1985, B+) เคยดูตอนเด็กๆ จำดนตรีประกอบไม่ได้แล้วเหมือนกัน จำดนตรีประกอบในหนังของฮิช์ค็อกไม่ได้ด้วย พี่โง่เรื่องดนตรีประกอบมากจ้ะ แต่วันนี้ดูหนังสั้นของไทยเรื่องนึง จำได้ด้วยว่าดนตรีประกอบมาจาก TWIN PEAKS เพราะดนตรีประกอบของ TWIN PEAKS มันไพเราะมีเสน่ห์เฉพาะตัวและจำง่ายมากๆ
--พี่จำรายละเอียดฉากฆาตกรรมใน RAISE THE RED LANTERN (A+) กับ THE VIRGIN SPRING (A+) ไม่ได้แล้วจ้ะ จำรายละเอียดใน FAREWELL MY CONCUBINE ไม่ค่อยได้แล้วเหมือนกัน แต่ฉากโหดๆที่ติดมากๆคือฉากผู้หญิงกัดจู๋ผู้ชายอย่างสุดแรงเกิดใน LAST HOUSE ON THE LEFT (WES CRAVEN, A) ซึ่งดัดแปลงมาจาก THE VIRGIN SPRING นี่แหละจ้ะ
--ประทับใจกับฉากต้นๆของ THIS GIRL'S LIFE มากๆเหมือนกันค่ะ ดีใจมากค่ะที่น้องได้ดูหนังเรื่องนี้ พี่ชอบหนังเรื่องนี้มากพอสมควรโดยเฉพาะในช่วงต้นเรื่อง แต่ตอนท้ายๆเรื่องรู้สึกว่าอารมณ์มันไม่ค่อยพีคเท่าไหร่ อย่างไรก็ดี พี่ได้ดูหนังเรื่องนี้ในแบบไม่มีซับไตเติล ก็เลยอาจจะไม่สามารถเก็บความสิ่งที่ตัวละครพูดได้หมด บางทีถ้าหากเข้าใจสิ่งที่ตัวละครพูดทั้งหมด ก็อาจจะชอบหนังเรื่องนี้มากขึ้น
รู้สึกว่า JULIETTE MARQUIS นางเอก THIS GIRL'S LIFE สวยเก๋สง่ามาก เธอมาจากยูเครน หน้าตาเธอเหมาะไปรับบทเป็นนางในตำนานศักดิ์สิทธิ์หรืออะไรทำนองนี้ได้
http://www.imdb.com/name/nm1402839/
--LEONARDO TREVIGLIO พี่นึกหน้าไม่ออกแล้วว่าเป็นยังไง ลองไปเช็คประวัติดู พบว่าพี่เคยดูหนังของเขาสองเรื่อง ซึ่งก็คือ SEBASTIANE (1976, DEREK JARMAN, A+) กับ THE PHANTOM OF THE OPERA (1998, DARIO ARGENTO, B) แต่ลองเสิร์ชหารูปของเขาดูแล้ว ท่าทางจะใช้ได้แฮะ นับว่าน้องตาแหลมมากค่ะที่เล็งผู้ชายคนนี้เอาไว้
--จำเพื่อนพระเอกใน GOLDEN BALLS (BIGAS LUNA, A+) ไม่ได้แล้ว ท่าทางจะต้องกลับไปดูอีกรอบ แต่ชอบ JAVIER BARDEM กับ MARIA DE MEDEIROS ในหนังเรื่องนี้มากจ้ะ ตอนนี้พี่ได้ดูหนังของบิกาส ลูน่าไปแค่ 2 เรื่องเท่านั้นเอง อีกเรื่องก็คือ JAMON JAMON (A+) ซึ่งพี่ชอบมากกว่า GOLDEN BALLS สิ่งที่ชอบมากใน JAMON JAMON ก็คือการที่ตัวละครมั่วเซ็กส์กันไปหมด จนเพื่อนพี่ถึงกับบอกว่า "หนังเรื่องนี้สอนให้รู้ว่า ทุกคนบนโลกเป็นญาติกัน"
--พี่อยากเป็นคู่ควงชั่วครั้งชั่วคราวของ ERIC BALFOUR ค่ะ รู้สึกว่าถ้าได้มีอะไรกับเขาบ้างเป็นบางครั้ง คงจะดี แต่พี่รู้สึกว่าหน้าตาเขาดูเจ้าเล่ห์เกินไป ดูใบหน้าแล้วพี่รู้สึกว่าเขาไม่น่าจะเป็นคนรักเดียวใจเดียวได้ รู้สึกว่าเขาต้องนอกใจเราแน่ๆเลย
--เพิ่งจะรู้ว่า THE LAST SEDUCTION มีเวอร์ชันใหม่ออกมาด้วย จำรายละเอียดในเรื่องนี้ไม่ได้แล้ว แต่จำได้ว่าชอบตอนจบมากพอสมควร
--ยังไม่ได้ดู OLIVIER OLIVIER เลยจ้ะ แต่เห็นด้วยว่า GREGOIRE COLIN พระเอกหนังเรื่องนี้มีเสน่ห์คล้ายคีนู รีฟส์
อ่านบทความเกี่ยวกับ GREGOIRE COLIN ได้ที่นี่ค่ะ
http://dir.salon.com/story/ent/feature/2005/05/05/gregoire_colin/index.html
--กรี๊ด ขอแนะนำให้น้องทิ้ง ABOUT SCHMIDT (B+) ไปก่อนค่ะ แล้วดูเบล่า ทาร์ไปเลย ดูแล้วก็มาเล่าให้ฟังบ้างนะคะว่าเป็นยังไงบ้าง พี่ดูหนังของเขาไปแค่เรื่อง ซึ่งก็คือ WERCKMEISTER HARMONIES กับ DAMNATION รู้สึกว่าหนังของเขามันน่าดูซ้ำอีกหลายรอบมากๆ มันมีความสวยงามในความหม่นหมอง และเหมาะจะฉายในโรงใหญ่อย่างมากๆ
--ยังไม่ได้ดู PITFALL, THE HILL HAVE EYES (2006) กับ GRIZZLY MAN เลยจ้ะ แต่ก็อยากดูทั้งสามเรื่องเลย
--จำดนตรีประกอบใน MESHES OF THE AFTERNOON (1943, MAYA DEREN, A+) ไม่ได้แล้วแฮะ สงสัยต้องดูอีกรอบ
http://www.youtube.com/watch?v=WwPVmkCA1PM
--RE-ANIMATOR (1985, B+) เคยดูตอนเด็กๆ จำดนตรีประกอบไม่ได้แล้วเหมือนกัน จำดนตรีประกอบในหนังของฮิช์ค็อกไม่ได้ด้วย พี่โง่เรื่องดนตรีประกอบมากจ้ะ แต่วันนี้ดูหนังสั้นของไทยเรื่องนึง จำได้ด้วยว่าดนตรีประกอบมาจาก TWIN PEAKS เพราะดนตรีประกอบของ TWIN PEAKS มันไพเราะมีเสน่ห์เฉพาะตัวและจำง่ายมากๆ
--พี่จำรายละเอียดฉากฆาตกรรมใน RAISE THE RED LANTERN (A+) กับ THE VIRGIN SPRING (A+) ไม่ได้แล้วจ้ะ จำรายละเอียดใน FAREWELL MY CONCUBINE ไม่ค่อยได้แล้วเหมือนกัน แต่ฉากโหดๆที่ติดมากๆคือฉากผู้หญิงกัดจู๋ผู้ชายอย่างสุดแรงเกิดใน LAST HOUSE ON THE LEFT (WES CRAVEN, A) ซึ่งดัดแปลงมาจาก THE VIRGIN SPRING นี่แหละจ้ะ
SOPHIE SCHOLL (A++++++++++)
Copy from screenout webboard
http://xq28.net/s/viewtopic.php?t=3437&start=3425
--เกมน่าสนใจ (หลายคนคงเล่นไปแล้ว)
ZIDANE HEADBUTT GAME
http://addictinggames.com/zidaneheadbuttgame.html
เล่นเกมนี้แล้วทำให้นึกถึงบทความใน THE GUARDIAN ที่พูดถึง ZINEDINE ZIDANE กับหนังเรื่อง HIDDEN (2005, MICHAEL HANEKE, A+) เพราะทั้งสองอย่างนี้มีต้นเหตุมาจากการเหยียดหยามทางเชื้อชาติในยุโรปเหมือนกัน (ถ้าจำไม่ผิด นสพ. BANGKOK POST ฉบับประจำวันศุกร์ที่ 14 ก.ค.ก็ลงบทความทำนองนี้เหมือนกัน)
อ่านบทความนี้ได้ที่
http://sport.guardian.co.uk/columnists/story/0,,1818139,00.html
It reminds me of a real film I have seen - Michael Haneke's brilliant Hidden, which also happens to have a post-colonial French-Algerian protagonist at its heart and perceived racism as its subject. More important, it is also about unknowable motives
What was said? Does it matter? There are numerous theories - including that he was called a "dirty terrorist", which Materazzi has denied. What was Zizou thinking when the red mist descended? Did he think, "I've had this shit all my life and I'm not taking it any more, and I'm going to exact retribution in front of hundreds of millions"? Did he think, "This is for my brothers and sisters in the banlieu"? Did he think, "Ouch! My nipples hurt, you bastard"? Did he think at all?
Perhaps we'll never know what was said or what he was thinking. Perhaps the greatest riddle of all is that in destroying his legacy as a sporting hero, he might have immortalised himself as the man who stood up to bigots, real or imagined, no matter the price.
นอกจากหนังเรื่อง HIDDEN แล้ว หนังเกี่ยวกับชาวแอฟริกาเหนือในฝรั่งเศสยังรวมถึง
1.FULL SPEED (1996, GAEL MOREL, A+)
http://images.amazon.com/images/P/B000A7DW8A.01._SS500_SCLZZZZZZZ_V1122758201_.jpg
หนังเกย์เรื่องนี้มีเนื้อหาเกี่ยวกับความรักระหว่างหนุ่มแอลจีเรีย (MEZZIANE BARDADI) กับหนุ่มฝรั่งเศสที่หล่อน่ารักมาก (PASCAL CERVO) โดยผู้กำกับหนังเรื่องนี้เคยเล่นหนังให้ ANDRE TECHINE แถมหนังเรื่องนี้ยังได้ CATHERINE CORSINI มาเขียนบทให้ด้วย
2.LA HAINE (1995, MATHIEU KASSOVITZ, A+)
http://images.amazon.com/images/P/B00004VYEQ.01._SS500_SCLZZZZZZZ_V64968680_.jpg
หนังที่เปี่ยมไปด้วยพลังแห่งความโกรธแค้นเรื่องนี้นำแสดงโดย SAID TAGHMAOUI (1973) ในบทชายหนุ่มเชื้อสายอาหรับ โดยในชีวิตจริงนั้น TAGHMAOUI มีเชื้อสายโมร็อกโก
ชอบฉากเริ่มต้นกับฉากจบของ LA HAINE มากๆ หนังเรื่องนี้ใช้ประโยคเริ่มต้นกับประโยคจบเรื่องคล้ายๆกัน แต่การได้ฟังประโยคนี้ตอนต้นเรื่องกับตอนจบเรื่องให้ความรู้สึกที่แตกต่างจากกันอย่างสิ้นเชิง โดยตอนต้นเรื่องดิฉันจะรู้สึกเฉยๆกับประโยคเปิดเรื่อง แต่พอได้ฟังประโยคนั้นอีกทีในตอนจบ จะรู้สึกว่าอยากร้องไห้
Heard about the guy who fell off a skyscraper? On his way down past each floor, he kept saying to reassure himself: So far so good... so far so good... so far so good. How you fall doesn't matter. It's how you land!
เทคนิคเริ่มต้นกับจบเรื่องด้วยฉากเดียวกัน แต่ให้อารมณ์ที่ทรงพลังสุดขีดในตอนจบ เป็นเทคนิคที่นำมาใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพมากในหนังเรื่อง WAITING FOR THE CLOUDS (2004, YESIM USTAOGLU, A+) ด้วยเช่นกัน
อันนี้เป็นรูปของ SAID TAGHMAOUI จากหนังเรื่อง CONFESSION D’UN DRAGUEUR (2001, ALAIN SORAL) ที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับนักจีบสาวตามท้องถนน
http://www.imdb.com/title/tt0269105/
http://a69.g.akamai.net/n/69/10688/v1/img5.allocine.fr/acmedia/medias/nmedia/00/02/29/64/69199589_af.jpg
3.CHAOS (2001, COLINE SERREAU, A)
http://images.amazon.com/images/P/B0000C23CW.01._SS500_SCLZZZZZZZ_V1067474572_.jpg
หนังเรื่องนี้มาฉายทางเคเบิลทีวีเป็นประจำ และนำแสดงโดย RACHIDA BRAKNI (1977) ในบทของโสเภณีชาวแอลจีเรียผู้ต่อสู้กับชีวิตอันโหดร้าย และได้รับความช่วยเหลือจากหญิงชาวฝรั่งเศส (CATHERINE FROT) ที่รู้สึกผิดที่ไม่ได้ช่วยโสเภณีในตอนแรก
อันนี้เป็นรูปของ RACHIDA BRAKNI จากหนังเรื่อง THE SLEEPING CHILD (2004, YASMINE KASSARI) ที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับหญิงสาวในโมร็อกโกที่ใช้ชีวิตอยู่กับการเฝ้ารอคอยให้สามีกลับมา หลังจากสามีของเธอลักลอบเข้าไปทำงานในสเปน
http://a69.g.akamai.net/n/69/10688/v1/img5.allocine.fr/acmedia/medias/nmedia/18/35/82/69/18446157.jpg
4.OUR HAPPY LIVES (1999, JACQUES MAILLOT, A-)
http://www.imdb.com/title/tt0197732/
http://images.amazon.com/images/P/B00008NNLV.01._SS500_SCLZZZZZZZ_V1131105715_.jpg
หนังเรื่องนี้มีเนื้อหาบางส่วนเกี่ยวกับเกย์ และนำแสดงโดย SAMI BOUAJILA ในบทของหนุ่มโมร็อกโกที่มาเรียนต่อในฝรั่งเศส ถ้าจำไม่ผิด หนังจะพูดถึงปัญหาความรักข้ามเชื้อชาติระหว่างหนุ่มโมร็อกโกกับสาวฝรั่งเศสด้วย
Intertwined stories of six friends searching for happy lives. Julie is released from hospital after a suicide attempt, Ali leaves Morocco to study in France, Jean-Paul is a religious militant, Emilie is in the midst of a breakup, Cecile staves off boredom by taking photographs and Lucas (JEAN-MICHEL PORTAL) has broken up with his wife and is in the midst of finding himself sexually.
อันนี้เป็นรูปของ JEAN-MICHEL PORTAL (คนผมทอง) จากหนังเรื่อง NO BIG DEAL (2003, BERNARD RAPP)
http://a69.g.akamai.net/n/69/10688/v1/img5.allocine.fr/acmedia/medias/nmedia/18/35/05/53/p1.jpg
5.LE GRAND VOYAGE (2004, ISMAEL FERROUKHI, A-)
http://www.imdb.com/title/tt0361670/
http://a69.g.akamai.net/n/69/10688/v1/img5.allocine.fr/acmedia/medias/nmedia/18/35/42/19/18390759.jpg
หนังเรื่องนี้นำแสดงโดย NICOLAS CAZALE ในบทของชายหนุ่มหล่อชาวฝรั่งเศส-โมร็อกโก
อ่านที่น้อง merveillesxx เขียนถึงหนังเรื่องนี้ได้ที่
http://www.bloggang.com/viewdiary.php?id=merveillesxx&group=1&month=10-2005&date=25&blog=1
6.INDIGENES หรือ DAYS OF GLORY (2006, RACHID BOUCHAREB)
http://www.imdb.com/title/tt0444182/
http://a69.g.akamai.net/n/69/10688/v1/img5.allocine.fr/acmedia/medias/nmedia/18/36/31/72/18653664.jpg
หนังเรื่องนี้คว้ารางวัลดารานำชาย (ทั้งคณะ) จากเทศกาลภาพยนตร์เมืองคานส์ปีนี้ และมีเนื้อหาเกี่ยวกับทหารแอลจีเรียที่เคยรบให้ฝรั่งเศส
นำแสดงโดย
6.1 JAMEL DEBBOUZE (1975) (BOYS ON THE BEACH, ASTERIX AND OBELIX MEET CLEOPATRA, AMELIE)
รูปของ JAMEL DEBBOUZE จากหนังเรื่อง ANGEL-A (2005, LUC BESSON) ที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับโสเภณีและนักต้มตุ๋น
http://a69.g.akamai.net/n/69/10688/v1/img5.allocine.fr/acmedia/medias/nmedia/18/35/99/97/18460834.jpg
6.2 SAMY NACERI (1961) (TAXI, LA MENTALE, THE REPENTANT)
รูปของ SAMY NACERI จากหนังเรื่อง BAB EL WEB (2005, MERZAK ALLOUACHE) ที่นำแสดงโดย JULIE GAYET หนังเรื่องนี้มีเนื้อหาเกี่ยวกับสองพี่น้องในแอลจีเรียที่ได้ต้อนรับสาวฝรั่งเศสที่รู้จักกันทางอินเทอร์เน็ต
http://a69.g.akamai.net/n/69/10688/v1/img5.allocine.fr/acmedia/medias/nmedia/18/35/54/63/18405297.jpg
6.3 ROSCHDY ZEM (1965) (LIVE AND BECOME, 36 QUAI DES ORFEVRES, ONLY GIRLS, MY LITTLE BUSINESS, LOUISE (TAKE 2))
อันนี้เป็นรูปของ ROSCHDY ZEM จากหนังเรื่อง THE OTHER SIDE OF THE SEA (1997, DOMINIQUE CABRERA, B+)
http://a69.g.akamai.net/n/69/10688/v1/img5.allocine.fr/acmedia/medias/nmedia/18/36/13/78/18455451.jpg
6.4 SAMI BOUAJILA (SEE HOW THEY RUN, LIFE KILLS ME, PLAYING ‘IN THE COMPANY OF MEN’, LA REPETITION, BLAME IT ON VOLTAIRE)
อันนี้เป็นรูปของ SAMI BOUAJILA จาก PLAYING ‘IN THE COMPANY OF MEN’ (2004, ARNAUD DESPLECHIN) ซึ่งมีขายในรูปแบบวีซีดีลิขสิทธิ์ในไทย
http://a69.g.akamai.net/n/69/10688/v1/img5.allocine.fr/acmedia/medias/nmedia/18/35/10/83/affiche.jpg
สรุปอันดับหนังยาวที่ได้ดูในเทศกาลหนังฝรั่งเศสปีนี้
1.PAPA (2005, MAURICE BARTHELEMY, A+++++)
2.TO PAINT OR MAKE LOVE (2005, JEAN-MARIE LARRIEU + ARNAUD LARRIEU, A+++++)
3.MY ANGEL (2004, SERGE FRYDMAN, A+)
4.LOVE IS IN THE AIR (2005, REMI BEZANCON, A+)
5.TIGER BRIGADES (2006, JEROME CORNUAU, A+)
6.36 QUAI DES ORFEVRES (2004, OLIVIER MARCHAL, A)
7.NEVER SAY NEVER (ERIC CIVANYAN, A-)
8.A TICKET TO OUTER SPACE (ERIC LARTIGAU, A-)
9.THE BLACK BOX (2005, RICHARD BERRY, A-)
10.EMPIRE OF THE WOLVES (2005, CHRIS NAHON, A-)
ตอบคุณ TARENCE
เห็นคุณ TARENCE อยากดูหนังสั้นของไทย ก็เลยจะบอกว่าใน YOU TUBE ก็มีให้ดูค่ะ แต่อาจจะไม่ใช่หนังเกย์
1. FEAR (วิชชานนท์ สมอุ่มจารย์, A) ชอบหน้าตาชายหนุ่มในเรื่องนี้ค่ะ
http://www.youtube.com/watch?v=a5L_is90Ktc
2.W.C. (ผีห้องน้ำ) (วิชชานนท์ สมอุ่มจารย์, A-) เป็นหนังที่ดูแล้วงงๆดี
http://www.youtube.com/watch?v=GgEzawfg9ro
ชอบความงงๆของทั้งสองเรื่องค่ะ ดูแล้วงงๆดี เรื่อง W.C. (ผีห้องน้ำ) อาจจะไม่ใช่หนังแนวลุ้นระทึกสุดขีด แต่พอจบแบบงงๆอย่างนั้น ก็เลยชอบ ส่วน FEAR นั้น แคสติ้งนักแสดงได้ดีมากค่ะ ฮ่าๆๆๆๆ รู้สึกว่าทั้งสองเรื่องนี้จะมีบางจุดคล้ายๆกันด้วยนะ หรือว่านี่จะเป็นสไตล์เฉพาะตัว
ก่อนหน้านี้เคยดูเรื่อง “หนีตาย” ไม่ทราบว่าเป็นผู้กำกับคนเดียวกันหรือเปล่า ยังไงก็ขอเป็นกำลังใจให้ทำหนังออกมาอีกเรื่อยๆนะคะ
ดูเรื่อง W.C. แล้วนึกถึงหนังเกี่ยวกับห้องน้ำสุดหลอนอีกเรื่องหนึ่ง ซึ่งก็คือ HALLUCINATION (2002, โสภณ ศักดาพิศิษฎ์, A+) ที่ดูสนุกกว่า W.C. แต่คิดว่าW.C. มีตอนจบที่เข้าทางดิฉันมากกว่า
ตอบคุณ PINK0700
ยินดีต้อนรับค่ะ ดีใจมากเลยที่มีคนใหม่ๆเข้ามา
--ถ้าหากชอบ KIP PARDUE นี่ ต้องคุยกับ ZM จ้ะ รายนี้เขาชื่นชอบกับ KIP PARDUE มานานหลายปีแล้ว ส่วนดิฉันนั้นยังไม่ได้ดู RULES OF ATTRACTION เลยค่ะ แต่ชอบ KIP PARDUE มากจาก THIS GIRL’S LIFE (2003, A) เขาดูเป็นธรรมชาติดีในหนังเรื่องนี้ หนังเรื่อง THIS GIRL’S LIFE นี้มีวางขายในไทยในแบบวีซีดีลิขสิทธิ์ด้วย
http://images.amazon.com/images/P/B00068S3WS.01._SS500_SCLZZZZZZZ_V1104282798_.jpg
--ถ้าหากชอบธีรดนัย อันนี้ก็ต้องคุยกับน้อง MATT จ้ะ
--ชอบเฉินป๋อหลินมากที่สุดใน BLUE GATE CROSSING จ้ะ แต่ลืมไปแล้วว่าฉากว่ายน้ำในหนังเป็นยังไง บางทีผู้กำกับเขาอาจจะถ่ายบางส่วนของฉากนี้เก็บไว้ดูคนเดียวก็ได้มั้ง หรือไม่เฉินป๋อหลินก็อาจจะผอมเกินไป ก็เลยไม่ได้ถ่ายให้เห็นชัดๆ
รู้สึกว่าเฉินป๋อหลินใน BLUE GATE CROSSING ยังดูซื่อๆอยู่ แต่หลังจากนั้นเขามักรับบทหนุ่มที่มีบุคลิกกะล่อนในหนังหลายเรื่อง ก็เลยลดความชอบเขาลงเรื่อยๆตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา ไม่ค่อยชอบบุคลิกหนุ่มกะล่อนของเขาเท่าไหร่
--ส่วน HEAD ON นั้นก็ยังไม่ได้ดูเลย แต่เดาว่าคุณ OLIVER คงดูแล้ว คุณ OLIVER อาจจะจำได้ว่าตัวเองเคยรู้สึกยังไงกับพระเอกหนังเรื่องนี้
--นักแสดงประเภทที่เห็นแล้วรู้สึก HARD ON นี่ ดิฉันมักจะรู้สึกกับนักแสดงประเภทที่รูปร่างฟิตเปรี๊ยะ หัวเกรียนๆ อย่างเช่น CHANNING TATUM หรือ ETHAN KAGE ค่ะ
ดูรูปของ ETHAN KAGE ได้ที่
http://xq28.net/s/viewtopic.php?t=11300
http://photos1.blogger.com/blogger/3127/543/1600/ethan.jpg
หนังที่ได้ดูในวันศุกร์ที่ 21 ก.ค.
1.SOPHIE SCHOLL – THE FINAL DAYS (2005, MARC ROTHEMUND, A++++++++++)
หนังเรื่องนี้มีสิทธิลุ้นอันดับท็อปเทนประจำปีนี้ เป็นหนังที่ดูแล้วอยากร้องกรี๊ดเป็นระยะๆและวิ่งเข้าไปตบตัวละครบางตัวในเรื่องเป็นระยะๆ โดยเฉพาะผู้พิพากษา เป็นหนังที่ดูแล้วก่อให้เกิดอารมณ์ “อิน” อย่างรุนแรงที่สุดเรื่องนึงในปีนี้
ดูหนังเรื่องนี้แล้วนึกถึงหนังเกี่ยวกับสาวหัวขบถอีกหลายเรื่อง อย่างเช่น
1.1 THE PASSION OF JOAN OF ARC (1928, CARL THEODOR DRYER, A+)
http://images.amazon.com/images/P/0780022343.01._SS500_SCLZZZZZZZ_V1056486511_.jpg
1.2 IRON JAWED ANGELS (2004, KATJA VON GARNIER, A+)
1.3 TIGER BRIGADES (2006, JEROME CORNUAU, A+)
DIANE KRUGER เล่นได้ดีมากในเรื่องนี้ เธอดูทรงพลังไม่แพ้ JESSICA LANGE แต่ DIANE จะเยือกเย็นกว่า
รูปของ DIANE KRUGER จากหนังเรื่อง FRANKIE (2006, FABIENNE BERTHAUD)
http://a69.g.akamai.net/n/69/10688/v1/img5.allocine.fr/acmedia/medias/nmedia/18/36/15/36/18475149.jpg
http://a69.g.akamai.net/n/69/10688/v1/img5.allocine.fr/acmedia/medias/nmedia/18/36/15/36/18456200.jpg
http://a69.g.akamai.net/n/69/10688/v1/img5.allocine.fr/acmedia/medias/nmedia/18/36/15/36/18456197.jpg
JESSICA LANGE จาก DON’T COME KNOCKING (2005, WIM WENDERS)
http://a69.g.akamai.net/n/69/10688/v1/img5.allocine.fr/acmedia/medias/nmedia/18/35/82/45/18427778.jpg
1.4 ONE AGAINST THE WIND (1991, LARRY ELIKANN, A+/A)
นำแสดงโดยจูดี้ เดวิสในบทนักต่อต้านนาซี
1.5 HEAD IN THE CLOUDS (2005, JOHN DUIGAN, A)
http://images.amazon.com/images/P/B0006J27WO.01._SS500_SCLZZZZZZZ_V1102114705_.jpg
2.HELEN THE BABY FOX (2006, KEITA KONO, A+++++)
รู้สึกว่าหนังเรื่องนี้ “ไม่มีอะไรเลย” นั่นก็คือไม่มีอะไรแปลกใหม่เลย หลายๆอย่างในหนังตรงตามคาด, หลายฉากและหลายองค์ประกอบในหนังเป็นสูตรสำเร็จของหนังญี่ปุ่นอย่างมากๆ แต่ดูหนังเรื่องนี้แล้วกลับรู้สึกมีความสุขมากๆ ชอบหนังเรื่องนี้มากกว่าหนังสัตว์โลกผู้น่ารักอย่าง SAYONARA KURO (2003, JOJI MATSUOKA, A-) และ SHINING BOY AND LITTLE RANDY (2005, SHUNSAKU KAWAKE, B+) แต่ยังไม่แน่ใจว่าจะชอบหนังเรื่องนี้มากกว่า MARCH OF THE PENGUINS (LUC JACQUET, A+) หรือ STORY OF YOUNG ELEPHANT (1986, RYO KINOSHITA, A+) หรือเปล่า เพราะถึงแม้ดิฉันจะประทับใจกับ “ความปลอดโปร่งโล่งสบายจากเนื้อเรื่อง” ใน HELEN THE BABY FOX แต่ดิฉันก็ชอบเนื้อหาที่อัดแน่นใน MARCH OF THE PENGUINS และ STORY OF YOUNG ELEPHANT เช่นกัน โดยเฉพาะประเด็นต่อต้านสงครามและทหารใน STORY OF YOUNG ELEPHANT
3.RUNNING SCARED (2006, WAYNE KRAMER, A+/A)
ขอกราบเท้า VERA FARMIGA กับ ELIZABETH MITCHELL ในหนังเรื่องนี้ค่ะ ในขณะที่ IVANA MILICEVIC (JUST LIKE HEAVEN) กับ IDALIS DELEON ก็แสดงได้ดีมากในหนังเรื่องนี้เช่นกัน
ELIZABETH MITCHELL
http://www.duboseknows.com/Gateway/EMitchell/EM068.jpg
4.THE BREAK-UP (2006, PEYTON REED, A+/A)
เป็นหนัง MAINSTREAM ที่ประทับใจมากเกินคาด เหมือนกับที่เคยประทับใจกับ SPANGLISH (2004, JAMES L. BROOKS, A+), THE FAMILY STONE (2005, THOMAS BEZUCHA, A+/A) , PRIME (2005, BEN YOUNGER, A+/A) และ IN HER SHOES (2005, CURTIS HANSON, A+/A) มาแล้ว และทำให้รู้สึกว่าหนังโรแมนติกคอมเมดี้ของฮอลลีวู้ดไม่จำเป็นต้องแย่เหมือนอย่าง FAILURE TO LAUNCH (2006, TOM DEY, B-) เสมอไป
รู้สึกว่า PEYTON REED เป็นผู้กำกับหนังฮอลลีวู้ดที่น่าสนใจมากคนนึงในทศวรรษนี้ เพราะทั้ง BRING IT ON (2000, A) และ DOWN WITH LOVE (2003, A-) ก็เป็นหนังที่ดิฉันชอบมากๆเมื่อเทียบกับหนังฮอลลีวู้ดโดยทั่วไป
PEYTON REED แต่งงานมีภรรยาแล้ว แต่รู้สึกว่าเขานำเสนอตัวละครเกย์ในหนังได้น่ารักดี ทั้งใน THE BREAK-UP และใน BRING IT ON
ประทับใจกับนักแสดงใน THE BREAK-UP เช่นกัน โดยเฉพาะ JUSTIN LONG และ JUDY DAVIS
FAVORITE SENTENCE
ลูกสาวพูดกับแม่ใน CRYING LADIES (2003, MARK MEILY, A)
“แม่อย่าไปหลับในงานศพนะคะ เดี๋ยวคนเขาจะนึกว่าแม่เป็นศพซะเอง”
http://xq28.net/s/viewtopic.php?t=3437&start=3425
--เกมน่าสนใจ (หลายคนคงเล่นไปแล้ว)
ZIDANE HEADBUTT GAME
http://addictinggames.com/zidaneheadbuttgame.html
เล่นเกมนี้แล้วทำให้นึกถึงบทความใน THE GUARDIAN ที่พูดถึง ZINEDINE ZIDANE กับหนังเรื่อง HIDDEN (2005, MICHAEL HANEKE, A+) เพราะทั้งสองอย่างนี้มีต้นเหตุมาจากการเหยียดหยามทางเชื้อชาติในยุโรปเหมือนกัน (ถ้าจำไม่ผิด นสพ. BANGKOK POST ฉบับประจำวันศุกร์ที่ 14 ก.ค.ก็ลงบทความทำนองนี้เหมือนกัน)
อ่านบทความนี้ได้ที่
http://sport.guardian.co.uk/columnists/story/0,,1818139,00.html
It reminds me of a real film I have seen - Michael Haneke's brilliant Hidden, which also happens to have a post-colonial French-Algerian protagonist at its heart and perceived racism as its subject. More important, it is also about unknowable motives
What was said? Does it matter? There are numerous theories - including that he was called a "dirty terrorist", which Materazzi has denied. What was Zizou thinking when the red mist descended? Did he think, "I've had this shit all my life and I'm not taking it any more, and I'm going to exact retribution in front of hundreds of millions"? Did he think, "This is for my brothers and sisters in the banlieu"? Did he think, "Ouch! My nipples hurt, you bastard"? Did he think at all?
Perhaps we'll never know what was said or what he was thinking. Perhaps the greatest riddle of all is that in destroying his legacy as a sporting hero, he might have immortalised himself as the man who stood up to bigots, real or imagined, no matter the price.
นอกจากหนังเรื่อง HIDDEN แล้ว หนังเกี่ยวกับชาวแอฟริกาเหนือในฝรั่งเศสยังรวมถึง
1.FULL SPEED (1996, GAEL MOREL, A+)
http://images.amazon.com/images/P/B000A7DW8A.01._SS500_SCLZZZZZZZ_V1122758201_.jpg
หนังเกย์เรื่องนี้มีเนื้อหาเกี่ยวกับความรักระหว่างหนุ่มแอลจีเรีย (MEZZIANE BARDADI) กับหนุ่มฝรั่งเศสที่หล่อน่ารักมาก (PASCAL CERVO) โดยผู้กำกับหนังเรื่องนี้เคยเล่นหนังให้ ANDRE TECHINE แถมหนังเรื่องนี้ยังได้ CATHERINE CORSINI มาเขียนบทให้ด้วย
2.LA HAINE (1995, MATHIEU KASSOVITZ, A+)
http://images.amazon.com/images/P/B00004VYEQ.01._SS500_SCLZZZZZZZ_V64968680_.jpg
หนังที่เปี่ยมไปด้วยพลังแห่งความโกรธแค้นเรื่องนี้นำแสดงโดย SAID TAGHMAOUI (1973) ในบทชายหนุ่มเชื้อสายอาหรับ โดยในชีวิตจริงนั้น TAGHMAOUI มีเชื้อสายโมร็อกโก
ชอบฉากเริ่มต้นกับฉากจบของ LA HAINE มากๆ หนังเรื่องนี้ใช้ประโยคเริ่มต้นกับประโยคจบเรื่องคล้ายๆกัน แต่การได้ฟังประโยคนี้ตอนต้นเรื่องกับตอนจบเรื่องให้ความรู้สึกที่แตกต่างจากกันอย่างสิ้นเชิง โดยตอนต้นเรื่องดิฉันจะรู้สึกเฉยๆกับประโยคเปิดเรื่อง แต่พอได้ฟังประโยคนั้นอีกทีในตอนจบ จะรู้สึกว่าอยากร้องไห้
Heard about the guy who fell off a skyscraper? On his way down past each floor, he kept saying to reassure himself: So far so good... so far so good... so far so good. How you fall doesn't matter. It's how you land!
เทคนิคเริ่มต้นกับจบเรื่องด้วยฉากเดียวกัน แต่ให้อารมณ์ที่ทรงพลังสุดขีดในตอนจบ เป็นเทคนิคที่นำมาใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพมากในหนังเรื่อง WAITING FOR THE CLOUDS (2004, YESIM USTAOGLU, A+) ด้วยเช่นกัน
อันนี้เป็นรูปของ SAID TAGHMAOUI จากหนังเรื่อง CONFESSION D’UN DRAGUEUR (2001, ALAIN SORAL) ที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับนักจีบสาวตามท้องถนน
http://www.imdb.com/title/tt0269105/
http://a69.g.akamai.net/n/69/10688/v1/img5.allocine.fr/acmedia/medias/nmedia/00/02/29/64/69199589_af.jpg
3.CHAOS (2001, COLINE SERREAU, A)
http://images.amazon.com/images/P/B0000C23CW.01._SS500_SCLZZZZZZZ_V1067474572_.jpg
หนังเรื่องนี้มาฉายทางเคเบิลทีวีเป็นประจำ และนำแสดงโดย RACHIDA BRAKNI (1977) ในบทของโสเภณีชาวแอลจีเรียผู้ต่อสู้กับชีวิตอันโหดร้าย และได้รับความช่วยเหลือจากหญิงชาวฝรั่งเศส (CATHERINE FROT) ที่รู้สึกผิดที่ไม่ได้ช่วยโสเภณีในตอนแรก
อันนี้เป็นรูปของ RACHIDA BRAKNI จากหนังเรื่อง THE SLEEPING CHILD (2004, YASMINE KASSARI) ที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับหญิงสาวในโมร็อกโกที่ใช้ชีวิตอยู่กับการเฝ้ารอคอยให้สามีกลับมา หลังจากสามีของเธอลักลอบเข้าไปทำงานในสเปน
http://a69.g.akamai.net/n/69/10688/v1/img5.allocine.fr/acmedia/medias/nmedia/18/35/82/69/18446157.jpg
4.OUR HAPPY LIVES (1999, JACQUES MAILLOT, A-)
http://www.imdb.com/title/tt0197732/
http://images.amazon.com/images/P/B00008NNLV.01._SS500_SCLZZZZZZZ_V1131105715_.jpg
หนังเรื่องนี้มีเนื้อหาบางส่วนเกี่ยวกับเกย์ และนำแสดงโดย SAMI BOUAJILA ในบทของหนุ่มโมร็อกโกที่มาเรียนต่อในฝรั่งเศส ถ้าจำไม่ผิด หนังจะพูดถึงปัญหาความรักข้ามเชื้อชาติระหว่างหนุ่มโมร็อกโกกับสาวฝรั่งเศสด้วย
Intertwined stories of six friends searching for happy lives. Julie is released from hospital after a suicide attempt, Ali leaves Morocco to study in France, Jean-Paul is a religious militant, Emilie is in the midst of a breakup, Cecile staves off boredom by taking photographs and Lucas (JEAN-MICHEL PORTAL) has broken up with his wife and is in the midst of finding himself sexually.
อันนี้เป็นรูปของ JEAN-MICHEL PORTAL (คนผมทอง) จากหนังเรื่อง NO BIG DEAL (2003, BERNARD RAPP)
http://a69.g.akamai.net/n/69/10688/v1/img5.allocine.fr/acmedia/medias/nmedia/18/35/05/53/p1.jpg
5.LE GRAND VOYAGE (2004, ISMAEL FERROUKHI, A-)
http://www.imdb.com/title/tt0361670/
http://a69.g.akamai.net/n/69/10688/v1/img5.allocine.fr/acmedia/medias/nmedia/18/35/42/19/18390759.jpg
หนังเรื่องนี้นำแสดงโดย NICOLAS CAZALE ในบทของชายหนุ่มหล่อชาวฝรั่งเศส-โมร็อกโก
อ่านที่น้อง merveillesxx เขียนถึงหนังเรื่องนี้ได้ที่
http://www.bloggang.com/viewdiary.php?id=merveillesxx&group=1&month=10-2005&date=25&blog=1
6.INDIGENES หรือ DAYS OF GLORY (2006, RACHID BOUCHAREB)
http://www.imdb.com/title/tt0444182/
http://a69.g.akamai.net/n/69/10688/v1/img5.allocine.fr/acmedia/medias/nmedia/18/36/31/72/18653664.jpg
หนังเรื่องนี้คว้ารางวัลดารานำชาย (ทั้งคณะ) จากเทศกาลภาพยนตร์เมืองคานส์ปีนี้ และมีเนื้อหาเกี่ยวกับทหารแอลจีเรียที่เคยรบให้ฝรั่งเศส
นำแสดงโดย
6.1 JAMEL DEBBOUZE (1975) (BOYS ON THE BEACH, ASTERIX AND OBELIX MEET CLEOPATRA, AMELIE)
รูปของ JAMEL DEBBOUZE จากหนังเรื่อง ANGEL-A (2005, LUC BESSON) ที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับโสเภณีและนักต้มตุ๋น
http://a69.g.akamai.net/n/69/10688/v1/img5.allocine.fr/acmedia/medias/nmedia/18/35/99/97/18460834.jpg
6.2 SAMY NACERI (1961) (TAXI, LA MENTALE, THE REPENTANT)
รูปของ SAMY NACERI จากหนังเรื่อง BAB EL WEB (2005, MERZAK ALLOUACHE) ที่นำแสดงโดย JULIE GAYET หนังเรื่องนี้มีเนื้อหาเกี่ยวกับสองพี่น้องในแอลจีเรียที่ได้ต้อนรับสาวฝรั่งเศสที่รู้จักกันทางอินเทอร์เน็ต
http://a69.g.akamai.net/n/69/10688/v1/img5.allocine.fr/acmedia/medias/nmedia/18/35/54/63/18405297.jpg
6.3 ROSCHDY ZEM (1965) (LIVE AND BECOME, 36 QUAI DES ORFEVRES, ONLY GIRLS, MY LITTLE BUSINESS, LOUISE (TAKE 2))
อันนี้เป็นรูปของ ROSCHDY ZEM จากหนังเรื่อง THE OTHER SIDE OF THE SEA (1997, DOMINIQUE CABRERA, B+)
http://a69.g.akamai.net/n/69/10688/v1/img5.allocine.fr/acmedia/medias/nmedia/18/36/13/78/18455451.jpg
6.4 SAMI BOUAJILA (SEE HOW THEY RUN, LIFE KILLS ME, PLAYING ‘IN THE COMPANY OF MEN’, LA REPETITION, BLAME IT ON VOLTAIRE)
อันนี้เป็นรูปของ SAMI BOUAJILA จาก PLAYING ‘IN THE COMPANY OF MEN’ (2004, ARNAUD DESPLECHIN) ซึ่งมีขายในรูปแบบวีซีดีลิขสิทธิ์ในไทย
http://a69.g.akamai.net/n/69/10688/v1/img5.allocine.fr/acmedia/medias/nmedia/18/35/10/83/affiche.jpg
สรุปอันดับหนังยาวที่ได้ดูในเทศกาลหนังฝรั่งเศสปีนี้
1.PAPA (2005, MAURICE BARTHELEMY, A+++++)
2.TO PAINT OR MAKE LOVE (2005, JEAN-MARIE LARRIEU + ARNAUD LARRIEU, A+++++)
3.MY ANGEL (2004, SERGE FRYDMAN, A+)
4.LOVE IS IN THE AIR (2005, REMI BEZANCON, A+)
5.TIGER BRIGADES (2006, JEROME CORNUAU, A+)
6.36 QUAI DES ORFEVRES (2004, OLIVIER MARCHAL, A)
7.NEVER SAY NEVER (ERIC CIVANYAN, A-)
8.A TICKET TO OUTER SPACE (ERIC LARTIGAU, A-)
9.THE BLACK BOX (2005, RICHARD BERRY, A-)
10.EMPIRE OF THE WOLVES (2005, CHRIS NAHON, A-)
ตอบคุณ TARENCE
เห็นคุณ TARENCE อยากดูหนังสั้นของไทย ก็เลยจะบอกว่าใน YOU TUBE ก็มีให้ดูค่ะ แต่อาจจะไม่ใช่หนังเกย์
1. FEAR (วิชชานนท์ สมอุ่มจารย์, A) ชอบหน้าตาชายหนุ่มในเรื่องนี้ค่ะ
http://www.youtube.com/watch?v=a5L_is90Ktc
2.W.C. (ผีห้องน้ำ) (วิชชานนท์ สมอุ่มจารย์, A-) เป็นหนังที่ดูแล้วงงๆดี
http://www.youtube.com/watch?v=GgEzawfg9ro
ชอบความงงๆของทั้งสองเรื่องค่ะ ดูแล้วงงๆดี เรื่อง W.C. (ผีห้องน้ำ) อาจจะไม่ใช่หนังแนวลุ้นระทึกสุดขีด แต่พอจบแบบงงๆอย่างนั้น ก็เลยชอบ ส่วน FEAR นั้น แคสติ้งนักแสดงได้ดีมากค่ะ ฮ่าๆๆๆๆ รู้สึกว่าทั้งสองเรื่องนี้จะมีบางจุดคล้ายๆกันด้วยนะ หรือว่านี่จะเป็นสไตล์เฉพาะตัว
ก่อนหน้านี้เคยดูเรื่อง “หนีตาย” ไม่ทราบว่าเป็นผู้กำกับคนเดียวกันหรือเปล่า ยังไงก็ขอเป็นกำลังใจให้ทำหนังออกมาอีกเรื่อยๆนะคะ
ดูเรื่อง W.C. แล้วนึกถึงหนังเกี่ยวกับห้องน้ำสุดหลอนอีกเรื่องหนึ่ง ซึ่งก็คือ HALLUCINATION (2002, โสภณ ศักดาพิศิษฎ์, A+) ที่ดูสนุกกว่า W.C. แต่คิดว่าW.C. มีตอนจบที่เข้าทางดิฉันมากกว่า
ตอบคุณ PINK0700
ยินดีต้อนรับค่ะ ดีใจมากเลยที่มีคนใหม่ๆเข้ามา
--ถ้าหากชอบ KIP PARDUE นี่ ต้องคุยกับ ZM จ้ะ รายนี้เขาชื่นชอบกับ KIP PARDUE มานานหลายปีแล้ว ส่วนดิฉันนั้นยังไม่ได้ดู RULES OF ATTRACTION เลยค่ะ แต่ชอบ KIP PARDUE มากจาก THIS GIRL’S LIFE (2003, A) เขาดูเป็นธรรมชาติดีในหนังเรื่องนี้ หนังเรื่อง THIS GIRL’S LIFE นี้มีวางขายในไทยในแบบวีซีดีลิขสิทธิ์ด้วย
http://images.amazon.com/images/P/B00068S3WS.01._SS500_SCLZZZZZZZ_V1104282798_.jpg
--ถ้าหากชอบธีรดนัย อันนี้ก็ต้องคุยกับน้อง MATT จ้ะ
--ชอบเฉินป๋อหลินมากที่สุดใน BLUE GATE CROSSING จ้ะ แต่ลืมไปแล้วว่าฉากว่ายน้ำในหนังเป็นยังไง บางทีผู้กำกับเขาอาจจะถ่ายบางส่วนของฉากนี้เก็บไว้ดูคนเดียวก็ได้มั้ง หรือไม่เฉินป๋อหลินก็อาจจะผอมเกินไป ก็เลยไม่ได้ถ่ายให้เห็นชัดๆ
รู้สึกว่าเฉินป๋อหลินใน BLUE GATE CROSSING ยังดูซื่อๆอยู่ แต่หลังจากนั้นเขามักรับบทหนุ่มที่มีบุคลิกกะล่อนในหนังหลายเรื่อง ก็เลยลดความชอบเขาลงเรื่อยๆตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา ไม่ค่อยชอบบุคลิกหนุ่มกะล่อนของเขาเท่าไหร่
--ส่วน HEAD ON นั้นก็ยังไม่ได้ดูเลย แต่เดาว่าคุณ OLIVER คงดูแล้ว คุณ OLIVER อาจจะจำได้ว่าตัวเองเคยรู้สึกยังไงกับพระเอกหนังเรื่องนี้
--นักแสดงประเภทที่เห็นแล้วรู้สึก HARD ON นี่ ดิฉันมักจะรู้สึกกับนักแสดงประเภทที่รูปร่างฟิตเปรี๊ยะ หัวเกรียนๆ อย่างเช่น CHANNING TATUM หรือ ETHAN KAGE ค่ะ
ดูรูปของ ETHAN KAGE ได้ที่
http://xq28.net/s/viewtopic.php?t=11300
http://photos1.blogger.com/blogger/3127/543/1600/ethan.jpg
หนังที่ได้ดูในวันศุกร์ที่ 21 ก.ค.
1.SOPHIE SCHOLL – THE FINAL DAYS (2005, MARC ROTHEMUND, A++++++++++)
หนังเรื่องนี้มีสิทธิลุ้นอันดับท็อปเทนประจำปีนี้ เป็นหนังที่ดูแล้วอยากร้องกรี๊ดเป็นระยะๆและวิ่งเข้าไปตบตัวละครบางตัวในเรื่องเป็นระยะๆ โดยเฉพาะผู้พิพากษา เป็นหนังที่ดูแล้วก่อให้เกิดอารมณ์ “อิน” อย่างรุนแรงที่สุดเรื่องนึงในปีนี้
ดูหนังเรื่องนี้แล้วนึกถึงหนังเกี่ยวกับสาวหัวขบถอีกหลายเรื่อง อย่างเช่น
1.1 THE PASSION OF JOAN OF ARC (1928, CARL THEODOR DRYER, A+)
http://images.amazon.com/images/P/0780022343.01._SS500_SCLZZZZZZZ_V1056486511_.jpg
1.2 IRON JAWED ANGELS (2004, KATJA VON GARNIER, A+)
1.3 TIGER BRIGADES (2006, JEROME CORNUAU, A+)
DIANE KRUGER เล่นได้ดีมากในเรื่องนี้ เธอดูทรงพลังไม่แพ้ JESSICA LANGE แต่ DIANE จะเยือกเย็นกว่า
รูปของ DIANE KRUGER จากหนังเรื่อง FRANKIE (2006, FABIENNE BERTHAUD)
http://a69.g.akamai.net/n/69/10688/v1/img5.allocine.fr/acmedia/medias/nmedia/18/36/15/36/18475149.jpg
http://a69.g.akamai.net/n/69/10688/v1/img5.allocine.fr/acmedia/medias/nmedia/18/36/15/36/18456200.jpg
http://a69.g.akamai.net/n/69/10688/v1/img5.allocine.fr/acmedia/medias/nmedia/18/36/15/36/18456197.jpg
JESSICA LANGE จาก DON’T COME KNOCKING (2005, WIM WENDERS)
http://a69.g.akamai.net/n/69/10688/v1/img5.allocine.fr/acmedia/medias/nmedia/18/35/82/45/18427778.jpg
1.4 ONE AGAINST THE WIND (1991, LARRY ELIKANN, A+/A)
นำแสดงโดยจูดี้ เดวิสในบทนักต่อต้านนาซี
1.5 HEAD IN THE CLOUDS (2005, JOHN DUIGAN, A)
http://images.amazon.com/images/P/B0006J27WO.01._SS500_SCLZZZZZZZ_V1102114705_.jpg
2.HELEN THE BABY FOX (2006, KEITA KONO, A+++++)
รู้สึกว่าหนังเรื่องนี้ “ไม่มีอะไรเลย” นั่นก็คือไม่มีอะไรแปลกใหม่เลย หลายๆอย่างในหนังตรงตามคาด, หลายฉากและหลายองค์ประกอบในหนังเป็นสูตรสำเร็จของหนังญี่ปุ่นอย่างมากๆ แต่ดูหนังเรื่องนี้แล้วกลับรู้สึกมีความสุขมากๆ ชอบหนังเรื่องนี้มากกว่าหนังสัตว์โลกผู้น่ารักอย่าง SAYONARA KURO (2003, JOJI MATSUOKA, A-) และ SHINING BOY AND LITTLE RANDY (2005, SHUNSAKU KAWAKE, B+) แต่ยังไม่แน่ใจว่าจะชอบหนังเรื่องนี้มากกว่า MARCH OF THE PENGUINS (LUC JACQUET, A+) หรือ STORY OF YOUNG ELEPHANT (1986, RYO KINOSHITA, A+) หรือเปล่า เพราะถึงแม้ดิฉันจะประทับใจกับ “ความปลอดโปร่งโล่งสบายจากเนื้อเรื่อง” ใน HELEN THE BABY FOX แต่ดิฉันก็ชอบเนื้อหาที่อัดแน่นใน MARCH OF THE PENGUINS และ STORY OF YOUNG ELEPHANT เช่นกัน โดยเฉพาะประเด็นต่อต้านสงครามและทหารใน STORY OF YOUNG ELEPHANT
3.RUNNING SCARED (2006, WAYNE KRAMER, A+/A)
ขอกราบเท้า VERA FARMIGA กับ ELIZABETH MITCHELL ในหนังเรื่องนี้ค่ะ ในขณะที่ IVANA MILICEVIC (JUST LIKE HEAVEN) กับ IDALIS DELEON ก็แสดงได้ดีมากในหนังเรื่องนี้เช่นกัน
ELIZABETH MITCHELL
http://www.duboseknows.com/Gateway/EMitchell/EM068.jpg
4.THE BREAK-UP (2006, PEYTON REED, A+/A)
เป็นหนัง MAINSTREAM ที่ประทับใจมากเกินคาด เหมือนกับที่เคยประทับใจกับ SPANGLISH (2004, JAMES L. BROOKS, A+), THE FAMILY STONE (2005, THOMAS BEZUCHA, A+/A) , PRIME (2005, BEN YOUNGER, A+/A) และ IN HER SHOES (2005, CURTIS HANSON, A+/A) มาแล้ว และทำให้รู้สึกว่าหนังโรแมนติกคอมเมดี้ของฮอลลีวู้ดไม่จำเป็นต้องแย่เหมือนอย่าง FAILURE TO LAUNCH (2006, TOM DEY, B-) เสมอไป
รู้สึกว่า PEYTON REED เป็นผู้กำกับหนังฮอลลีวู้ดที่น่าสนใจมากคนนึงในทศวรรษนี้ เพราะทั้ง BRING IT ON (2000, A) และ DOWN WITH LOVE (2003, A-) ก็เป็นหนังที่ดิฉันชอบมากๆเมื่อเทียบกับหนังฮอลลีวู้ดโดยทั่วไป
PEYTON REED แต่งงานมีภรรยาแล้ว แต่รู้สึกว่าเขานำเสนอตัวละครเกย์ในหนังได้น่ารักดี ทั้งใน THE BREAK-UP และใน BRING IT ON
ประทับใจกับนักแสดงใน THE BREAK-UP เช่นกัน โดยเฉพาะ JUSTIN LONG และ JUDY DAVIS
FAVORITE SENTENCE
ลูกสาวพูดกับแม่ใน CRYING LADIES (2003, MARK MEILY, A)
“แม่อย่าไปหลับในงานศพนะคะ เดี๋ยวคนเขาจะนึกว่าแม่เป็นศพซะเอง”
Subscribe to:
Posts (Atom)